ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทิฐิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''ทิฐิ''' (อ่านว่า ทิดถิ) ({{lang-pi|ทิฏฺฐิ}}) แปลว่า ''ความเห็น ความคิดเห็น'' มีในพระพุทธศาสนาใช้ในความหมายเช่นเดียวกับคำว่า '''ทัศนะ''' ในวงวัดนิยมเขียนจามรูปศัพท์เดิมว่า '''ทิฏฐิ''' ใช้กับความเห็นของทั้งฝ่ายดีและฝ่ายไม่ดี ที่ใช้กับฝ่ายดี เช่น '''"[[สัมมามิจฉาทิฐิ]]'''"<ref>[[พระพรหมคุณาภรณ์ (ความเห็นชอบประยุทธ์ ปยุตฺโต)]], ที่ใช้กับฝ่ายไม่ดีเช่น[http://84000.org/tipitaka/dic/d_seek.php?text=%B7%D4%AF%B0%D4 พจนานุกรมพุทธศาสตร์ '''[[มิจฉาทิฐิฉบับประมวลธรรม: ทิฏฐิ 2]]'''</ref> (คือความเห็นผิด) มี 2 ประการ ได้แก่ '''[[สัสสตทิฐิ]]''' (ความเห็นว่าเที่ยง) '''[[อุจเฉททิฐิ]]''' (ความเห็นว่าขาดสูญ) เป็นต้น
 
หากเป็นความเห็นถูก เรียกว่า [[สัมมาทิฐิ]] หรือ [[ปัญญา]]
ในคำไทยส่วนใหญ่ใช้ในความหมายว่าความอวดดื้อถือดี ความดื้อรั้น ความตะแบงทั้งที่รู้ว่าผิดแต่ไม่ยอมรับและไม่ยอมแก้ไข เช่นที่ใช้ว่า "เขามีทิฐิมาก ไม่ยอมลงใคร" ทิฐิมานะของเขาทำให้เขาเข้ากับใครไม่ได้เลยในที่ทำงาน"
 
นอกจากนี้ในคำภาษาไทยส่วนใหญ่มักใช้ในความหมายว่าความอวดดื้อถือดี ความดื้อรั้น ความตะแบงทั้งที่รู้ว่าผิดแต่ไม่ยอมรับและไม่ยอมแก้ไข เช่นที่ใช้ว่า "เขามีทิฐิมาก ไม่ยอมลงใคร" ทิฐิมานะของเขาทำให้เขาเข้ากับใครไม่ได้เลยในที่ทำงาน"
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ทิฐิ"