ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่น้ำชี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
เพิ่มกล่องข้อมูลภูมิศาสตร์
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
{{Geobox
| แม่น้ำ
<!-- *** Name section *** -->
|name = แม่น้ำชี
|native_name =
|other_name =
|other_name1 =
<!-- *** Image *** --->
|image = Ferry on river chi.jpg
|image_size = 275px
|image_caption = เรือข้ามฟากที่แม้น้ำชี
<!-- *** Country etc. *** -->
|country =
|country1 =
|state =
|state1 =
|region =
|region1 =
|district =
|district1 =
|city =
|city1 =
|city2 =
|city3 =
|city4 =
|city5 =
|city6 =
<!-- *** Geography *** -->
|length = 765
|watershed = 49480
|discharge = 290
|discharge_location = [[จังหวัดยโสธร]]
|discharge_max = 3960
|discharge_min =
|discharge1_location =
|discharge1 =
<!-- *** Source *** -->
|source_name =
|source_location =
|source_district =
|source_region =
|source_state = [[จังหวัดชัยภูมิ]]
|source_country =
|source_lat_d =
|source_lat_m =
|source_lat_s =
|source_lat_NS =
|source_long_d =
|source_long_m =
|source_long_s =
|source_long_EW =
|source_elevation = 30
|source_length =
<!-- *** Mouth *** -->
|mouth_name =
|mouth_location = [[แม่น้ำมูล]]
|mouth_district =
|mouth_region =
|mouth_state = [[จังหวัดศรีสะเกษ]]
|mouth_country =
|mouth_lat_d =
|mouth_lat_m =
|mouth_lat_s =
|mouth_lat_NS =
|mouth_long_d =
|mouth_long_m =
|mouth_long_s =
|mouth_long_EW =
|mouth_elevation = 110
<!-- *** Tributaries *** -->
|tributary_left =
|tributary_left1 =
|tributary_right =
|tributary_right1 =
<!-- *** Free fields *** -->
|free_name =
|free_value =
<!-- *** Map section *** -->
|map = Munrivermap.jpg
|map_size =
|map_caption = แผนที่แสดงแม่น้ำมูลและแม่น้ำชี
}}
 
'''แม่น้ำชี''' เป็นสาขาหนึ่งของ[[แม่น้ำมูล]] เกิดจากที่ราบด้านตะวันออกของ[[เทือกเขาเพชรบูรณ์]]นับตั้งแต่เขาสันปันน้ำ เขาแปปันน้ำ เขาเสลียงตาถาด เขาอุ้มน้ำ เขายอดชี เขาครอก จนถึงเขาเทวดา ซึ่งเป็นแนวภูเขาชายเขตแดนด้านตะวันตกเฉียงเหนือของ[[จังหวัดชัยภูมิ]] โดยมีสาขาหลัก 5 ลำน้ำซึ่งประกอบไปด้วย ลำน้ำพอง ลำน้ำปาว ลำน้ำเซิน ลำน้ำพรมและลำน้ำยัง แม่น้ำชีถือว่าเป็นแม่น้ำที่มีความยาวมากที่สุดในประเทศไทย ไหลผ่าน[[จังหวัดชัยภูมิ]] [[จังหวัดขอนแก่น]] [[จังหวัดมหาสารคาม]] [[จังหวัดร้อยเอ็ด]] [[จังหวัดยโสธร]] และไหลไปบรรจบกับ[[แม่น้ำมูล]]ที่บ้านวังยาง ต.บุ่งหวาย อ.วารินชำราบ[[จังหวัดอุบลราชธานี]] มีความยาวทั้งสิ้น 765 กิโลเมตร
 
เส้น 5 ⟶ 89:
ชื่อของแม่น้ำชี เกิดจากแม่หม้ายคนหนึ่งอยู่กับลูกสาว สามีของนางเสียชีวิตนานแล้ว วันหนึ่งนางไปหาหน่อไม้บนภูเขาซึ่งมีหน่อไม้มาก วันนั้นนางหาหน่อไม้ได้มากกว่าทุกวันนางจึงได้นำหน่อไม้ที่หาได้ไปขายในตลาดกับลูกสาวของนาง ปรากฏว่าหน่อไม้ของนางขายดีได้เงินมาเป็นจำนวนไม่น้อย เมื่อได้เงินจากการขายหน่อไม้นางได้พาลูกสาวของนางไปซื้อเสื้อผ้าซื้อของที่ลูกของนางอยากได้ เมื่อนางและลูกสาวซื้อของเสร็จกำลังจะออกจากร้าน เจ้าของร้านก็ได้บอกนางว่า "ผู้หญิงคนนี้สวยจริง ๆ เลย" ต่อมามีคนพูดว่า "ลูกสาวของป้าสวยอย่างนี้ทำไมไม่ให้เข้าไปอยู่ในวังจะได้สบาย" ต่อมานางจึงพยายาม ส่งลูกสาวเข้าไปอยู่ในวังเมื่อลูกสาวของนางได้ไปอยู่ในวังก็เป็นที่หมายปองของชายทั้งหลาย และได้พบรักกับลูกขุนนาง และตกลงใจแต่งงานกัน โดยไม่บอกมารดาด้วยความเป็นห่วง นางรู้แล้วว่าลูกสาวของนางแต่งงานแต่ไม่บอกนาง นางก็ไม่โกรธและได้เข้ามาหาลูกสาวในวัง เมื่อลูกสาวพบหน้ามารดาก็ทำท่าเหมือนไม่รู้จักซ้ำยังไล่เหมือนกับว่าไม่ใช่แม่ สร้างความเสียใจให้แก่ผู้เป็นแม่มาก นางกลับบ้านด้วยความเสียใจ เมื่อกลับถึงบ้านนางยังคงร้องไห้อยู่ทุกวัน เสียใจกับลูกที่นางรักปานแก้วตาดวงใจ ที่ทำกับนางเช่นนี้แม้ชีวิตก็ยอมสละให้ลูกได้ นางคิดว่าในชีวิตของนางไม่เหลืออะไรอีกแล้ว เพราะคนที่นางรักยังไม่สนใจใยดีนางจึงไปวัดไปหาความสงบในชีวิตที่เหลือน้อยเต็มที ในที่สุดก็ตัดสินใจบวชชี และได้เดินทางไปบนภูเขาซึ่งนางเคยหาหน่อไม้กับลูกสาวของนาง และได้นั่งร้องไห้บนภูเขาจนน้ำตาของนางกลายเป็นสายน้ำที่ไหลอยู่ทุกวันนี้และได้จบชีวิตลง ณ ที่แห่งนั้น ชาวบ้านได้เรียกชื่อแม่น้ำสายนี้ว่า "แม่น้ำชี"
 
[[ไฟล์:Https://lh4.googleusercontent.com/-cbtl2T2j6go/UEV3dTXCvFI/AAAAAAAAE4w/5YRXyj1gGio/s529/%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%9B%E0%B9%8C%E0%B8%AF+1.jpg|thumbnail]]
ตำนานของแม่น้ำชี ยังมีปรากฏอีกแห่ง ซึ่งอยู่ในตำนานอุรังคธาตุ(ตำนานพระธาตุพนม)ซึ่งต้นฉบับดั้งเดิมจารึกไว้เป็นตัวอักษรธรรมอีสานบนแผ่นใบลาน คาดว่าถูกคัดลอกต่อกันมาไม่ต่ำกว่า ๔๐๐ ปี ซึ่งกรมศิลปากร ได้ปริวรรตเป็นตัวอักษรไทยสยามไว้ตั้งแต่เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๓ บรรยายความเกี่ยวกับกำเนินแม่น้ำสายต่างๆลุ่มน้ำโขงว่า แต่เดิมมีหนองน้ำแห่งหนึ่งชื่อว่า หนองแส (คาดว่าปัจจุบันคือ ทะเลสาบเอ๋อไห่ เมืองต้าหลี่ มณฑลยูนนาน ประเทศจีน) หนองแสแห่งนี้ มีนาคอาศัยอยู่ด้วยกัน ๘ ตัว คือ พินทะโยนกวตินาค เป็นใหญ่ทางหัวหนอง, ธนะมูนนาค เป็นใหญ่ทางท้ายหนอง, ชีวายะนาค, หัตถีศรีสัตตนาค , สุกขรนาค, ปัพพารนาค,สุวรรณนาค และพุทโธปาปะนาค โดย พินทะโยนกวตินาคและธนะมูนนาค ได้ให้คำสัตย์ต่อกันว่า หาอาหารได้เท่าไร จะต้องแบ่งครึ่งเท่าๆกัน
อยู่มาวันหนึ่ง พินทะโยกวตินาค จับเม่นได้เป็นอาหาร และแบ่งครึ่งตามสัญญา ปรากฏว่าธนะมูนนาค กินไม่พออิ่ม เนื่องจากคลางแคลงใจที่ ขนเม่นยาวเป็นศอก จะได้เนื้อมีนิดเดียวได้อย่างไร จึงเกิดเรื่องวิวาทกันระหว่างนาคทั้ง ๒ ฝ่าย ทำให้น้ำในหนองแสขุ่นมัว และสร้างความเดือดร้อนแก่สัตว์อื่นๆที่อยู่ร่วมกัน เรื่องจึงเดือดร้อนถึงสวรรค์ พระอินทร์จึงสั่งให้พระวิสุกรรมเทวบุตร ลงมาปราบนาคทั้ง ๒ ฝ่าย นาคทั้งหลายในหนองแส จึงถูกขับไล่และเหวี่ยงโยนออกจากหนองแส และบางตัวได้เลื้อยแถกแผ่นดิน จนกลายเป็นสถานที่ต่างดังนี้