ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เคมีวิเคราะห์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
ทดลองเรียงหมวดหมู่ และเก็บกวาดพื้นฐานด้วยบอต โปรดตรว
Polkit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
**[[นิวตรอนแอกติเวชั่นอะนาไลซิส]] (neutron activation analysis-NAA).
 
*[[แมสสเปกโทรเมทรี่]] (Mass spectrometry) คือเทคนิควิเคราะห์ทางเคมีที่ใช้หลักการการเปลี่ยนสารตัวอย่างให้เป็นไอออน (ionization)ในส่วนประกอบแรกของเครื่องมือที่เรียกว่า '''ส่วนผลิตไอออน (ionization source)''' โดยมีวิธีการเปลี่ยนสารตัวอย่างหลายวิธี เช่น ใช้ลำอิเล็กตรอนเข้าชน (electron impact)เป็นต้น เมื่อสารตัวอย่างเปลี่ยนไปเป็นไอออนแล้วจะผ่านเข้าสู่'''ส่วนวิเคราะห์มวล (mass analyzer)''' ที่มีหลายประเภทเช่นกัน ตัวอย่างเช่น ควอดรูโพล (Quadrupole) ที่ใช้ค่าศักย์ไฟฟ้าและคลื่นความถี่วิทยุในการจำแนกมวล ส่วนประกอบสุดท้ายได้แก่ ส่วนตรวจวัด (detector)ทำหน้าที่เป็นฉากรับเมื่อมีไออนมาตกกระทบเพื่อส่งข้อมูลไปยังส่วนประมวลผลได้แก่ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุม เพื่อจะแสดงผลออกมาในกราฟที่มีชื่อเรียกเฉพาะว่า '''แมสสเปกตรัม (Mass Spectrum)''' ที่มีแกนตั้งเป็นค่า relative intensity และแกนนอนเป็นค่ามวลต่อประจุ (m/z)เทคนิคนี้ใช้ในการหามวลโมเลกุล(molecular mass) องค์ประกอบของธาตุ โครงสร้าง และเคมิกอลสปีซี่ (chemical species)
*[[แมสส์สเปกโตรเมตทรี่]] (Mass spectrometry) คือการหามวลโมเลกุล(molecular mass) องค์ประกอบของธาตุ โครงสร้าง และเคมิกอลสปีซี่ (chemical species) ในตัวอย่าง โดยการ[[ไอออไนซ์]] (ionize) โมเลกุลของสารที่จะวิเคราะห์ แล้วสังเกตุพฤติกรรมของพวกมันในสนามแม่เหล็กและไฟฟ้า
ในตัวอย่าง *[[วิธีการแบบผสมผสาน]] (hyphenatedhphenated methods) ตัวอย่างของวิธีการนี้คือ[[อินดักตีปลี่คูเปลดพลาสม่า-แมสส์สเปกโตรเมตทรี่]] (Inductively-Coupled Plasma - Mass Spectrometry (ICP-MS)) มีวิธีการพอสรุปได้ดังนี้
**ขั้นตอนแรกทำให้ตัวอย่าง[[ระเหยเป็นไอ]] (volatilisation) หรือใช้เทคนิคการแยกแบบ[[โครมาโตกราฟี่]] (chromatography)
**ขั้นตอนที่การตรวจวัดความเข็มข้น