ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 4 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaSearch
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
=== วิชาแปลมคธเป็นไทย (วิชาแปล) ===
 
* วิชาแปลมคธเป็นไทย ใช้หนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี (ปฐมป{{ฐ}}ม ภาโค - ภาคหนึ่ง) <ref>[http://www.learntripitaka.com/Theology2.html หนังสือหมวดเปรียญธรรม ประโยค ๑ ถึง ๙ ]</ref>
 
==== ประวัติหนังสือ มงฺคลตฺถทีปนี ====
 
'''หนังสือมังคลัตถทีปนี ''' เป็นคัมภีร์ชั้นฎีกา อธิบายความใน[[มงคลสูตร]]ที่มาในพระไตรปิฎก<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะขุททกปา{{ฐ}}ะ '''มงคลสูตร'''. พระไตรปิฏกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=25&A=41&Z=72&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52</ref><ref>อรรถกถา ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะขุททกปา{{ฐ}}ะ '''มงคลสูตร'''. อรรถกถาพระไตรปิฎก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25.0&i=5&p=3]. เข้าถึงเมื่อ 9-6-52</ref> โดยมงคลสูตรเป็นคำสอนประเภทเนยยะ คือมีข้อความเป็นร้อยแก้ว ผสมร้อยกรอง
 
ผู้รจนาคัมภีร์มังคัลตถทีปนี คือ '''พระสิริมังคลาจารย์'''<ref>พระสิริมังคลาจารย์. ''มงคลทีปนี''. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐</ref> พระภิกษุชาวเมือง[[เชียงใหม่]] มีอายุอยู่ประมาณ[[พุทธศตวรรษที่ 20|พุทธศตวรรษที่ ๒๐]] ผลงานของท่านจากหลักฐานแสดงประวัติ มีอยู่สี่เรื่องคือ '''เวสสันดรทีปนี จักกวาฬทีปนี สังขยาปกาสกฎีกา มังคลัตถทีปนี'''
บรรทัด 23:
=== วิชาแปลไทยเป็นมคธ (วิชาแต่ง) ===
 
[[ไฟล์:ธมฺมปทฏฐกถา ตติโย ภาโค.jpg|150px|thumb|ปกหนังสืออันเป็นที่คุ้นตาของนักเรียนบาลี '''"ธมฺมปทฏฐกถาธมฺมปทฏ{{ฐ}}กถา"''' หนึ่งในหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทยในชั้นประโยค ๑-๒ และ วิชาแต่งไทยเป็นมคธในชั้น เปรียญธรรม ๔ ประโยค ''จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการแผนกตำรา [[มหามกุฏราชวิทยาลัย]]'']]
 
วิชาแปลไทยเป็นมคธในชั้น ป.ธ. ๔ นี้ ใช้หนังสือ ธัมมปทัฏฐกถาธัมมปทัฏ{{ฐ}}กถา ภาคที่ ๑
 
* ธัมมปทัฏฐกถาธัมมปทัฏ{{ฐ}}กถา (ปฐโมป{{ฐ}}โม ภาโค - ภาคหนึ่ง)
 
ในชั้นนี้ผู้เรียนบาลีต้องศึกษาวิธีการเแต่ง[[ภาษาไทย]]เป็น[[ภาษาบาลี]]โดยใช้หนังสือ '''อรรถกถาธรรมบทแปล ภาค ๑''' (ธัมมปทัฏฐกถาธัมมปทัฏ{{ฐ}}กถา ภาษาไทย) เพื่อฝึกแปลเป็น[[ภาษามคธ]]
 
== หลักเกณฑ์ของผู้มีสิทธิ์สอบไล่ในชั้นเปรียญธรรม ๔ ประโยค ==