ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงสุขุมนัยประดิษฐ (ประดิษฐ์ สุขุม)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:หลวงสุขุมนัยประดิษฐ.jpg|200px|thumb|หลวงสุขุมนัยประดิษฐ]]
'''หลวงสุขุมนัยประดิษฐ''' หรือ '''ประดิษฐ์ สุขุม''' ([[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2447]] - [[17 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2510]]) หรือ นายประดิษฐ์ สุขุม เป็นเลขาธิการคนแรก ของ [[สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน]] (ก.พ.) อดีตอธิบดีกรมโฆษณาการ เป็นผู้ก่อตั้ง [[การกีฬาแห่งประเทศไทย]] และการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ซึ่งปัจจุบันคือ [[กีฬาซีเกมส์]] นอกจากนี้เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง วงดนตรี[[สุนทราภรณ์]]
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ สำเร็จการศึกษาสาขาบริหารธุรกิจ จาก [[มหาวิทยาลัยบอสตัน]] ประเทศ [[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ในเดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2470 ขณะอายุได้ 23 ปี ในการทำงานราชการ หลวงสุขุมนัยประดิษฐ เป็นผู้วางรากฐาน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) โดยดำรงตำแหน่งเป็น เลขาธิการ ก.พ. คนแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2471 และได้ดำรงตำแหน่งนี้อย่างยาวนาน จนกระทั่งเกษียณอายุราชการเมื่อปี พ.ศ. 2507 รวมเป็นระยะเวลาถึงกว่า 35 ปี
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ เป็นหนึ่งในผู้ปฏิบัติงาน[[เสรีไทย]] อยู่ในสหรัฐอเมริกา ระหว่าง [[สงครามโลกครั้งที่ 2]] โดยดูแลเกี่ยวกับด้านการโฆษณา และการกระจายเสียงทางวิทยุ และต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งเป็น อธิบดีกรมโฆษณาการ เมื่อปี พ.ศ. 2488
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 สิริอายุได้ 63 ปี
 
== ประวัติ ==
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ เกิดเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2447 ที่[[จังหวัดสงขลา]] เป็นบุตรคนที่ 7 ของ มหาอำมาตย์นายก [[เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)]] และท่านผู้หญิงตลับ (สกุลเดิม "ณ ป้อมเพชร") ชื่อเดิมของหลวงสุขุมนัยประดิษฐ คือ “ประดิษฐ์” นั้น สมเด็จฯ [[กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] เป็นผู้ประทานให้ โดยตั้งให้คล้องกับพระนามเดิมของพระองค์ คือ “ดิศวรกุมาร”
 
 
''';หลวงสุขุมนัยประดิษฐ มีพี่น้องร่วมมารดาดังนี้'''
 
# พระยาสุขุมนัยวินิต ( สวาสดิ์ สุขุม )
บรรทัด 26:
# คุณหญิงประจวบ สุขุม(2453-2540:87 ปี) ภริยา [[เจ้าพระยารามราฆพ]]
 
''';นอกจากนี้ยังมีพี่น้องต่างมารดาดังนี้'''
 
'''นอกจากนี้ยังมีพี่น้องต่างมารดาดังนี้'''
# หม่อมประยูร โสณกุล ณ อยุธยา ใน [[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัต กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร]]
# คุณประยงค์ สุขุม
เส้น 35 ⟶ 34:
# คุณประณีต ณ นคร
 
ท่านได้ทำการสมรสครั้งแรก กับ คุณล้วน ( รัตนา ) สุขุม และต่อมากับคุณเพิ่มศิริ มีบุตร-ธิดา ดังรายนามต่อไปนี้
# เป็นหญิง ชื่อ สุมน
# เป็นหญิง ชื่อ ประจง
# เป็นชาย ชื่อ ประเดิม
# เป็นหญิง ชื่อ ประพาฬ
# เป็นหญิง ชื่อ สำเนา
 
== ประวัติการศึกษา ==
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ เข้าศึกษาครั้งแรกที่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง จนถึงชั้นมัธยมปีที่ 4 ขณะอายุได้ 13 ปี จึงไปศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเดินทางด้วยเรือชื่อ “กัวลา” พร้อมกับพี่ชายซึ่งต่อมาคือ พระพิศาลสุขุมวิท ในครั้งนั้นมีผู้ร่วมเดินทางเที่ยวเดียวกันที่สำคัญคือ '''น.ส.สังวาลย์ ตะละภัฏ''' ซึ่งต่อมาคือ [[สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี]]
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนกันเนอรี (Gunnery School) ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำที่มีชื่อเสียงของ มลรัฐคอนเนคติกัต สหรัฐอเมริกา และได้เป็นนักกีฬาตัวแทนโรงเรียนหลายประเภทจนถึงนายกสภานักเรียน และได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้าใหญ่ของโรงเรียน หลังจากนั้นได้เข้าศึกษาต่อที่ มหาวิทยาลัยบอสตัน จนสำเร็จการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ
 
* สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จากโรงเรียนมหาดเล็กหลวง (โรงเรียนวชิราวุธ)
* สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนกันเนอรี (Gunnery School) มลรัฐคอนเนคติกัต ประเทศสหรัฐอเมริกา
* สำเร็จการศึกษาสูงสุด สาขา Business Administration จาก มหาวิทยาลัยบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
== ประวัติการทำงาน ==
* เลขานุการสภาการฝิ่น
* เลขานุการส่วนพระองค์ [[กรมพระจันทบุรีนฤนาถ]] เสนาบดีกระทรวงพาณิชย์ (15 ธันวาคม พ.ศ. 2468 - 27 เมษายน พ.ศ. 2474)
เส้น 59 ⟶ 58:
* รองประธานการกีฬาแห่งชาติ
* ผู้ก่อตั้งองค์การกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) และดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรก
* ผู้ริเริ่มจัดการแข่งขันกีฬาแหลมทอง ซึ่งต่อมาคือ กีฬา[[ซีเกมส์]]
* ผู้ดำเนินการให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ กีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 5 ในปี พ.ศ. 2509
 
== ผลงานด้านการกีฬา ==
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ เป็นอดีตนักกีฬาอเมริกันฟุตบอล บาสเกตบอล และเบสบอลชั้นแนวหน้าของสถาบัน ตั้งแต่ยังศึกษาที่โรงเรียน Gunnery เคยได้รับเสื้อสามารถ และได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งบริหารองค์กรกีฬา
 
เมื่อสำเร็จการศึกษากลับมารับราชการที่ประเทศไทย หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาวงการกีฬาสากลของประเทศไทย โดยเป็นผู้ริเริ่มให้มีการจัดการแข่งขัน[[กีฬาแหลมทอง]] หรือ เซียพเกมส์ (South East Asian Peninsula Games - SEAP Games) ขึ้นเป็นครั้งแรก ซึ่งประเทศไทยได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 12–17 ธันวาคม พ.ศ. 2502 และมีการจัดการแข่งขันต่อมาจนกระทั่งเป็น [[กีฬาซีเกมส์]] ในปัจจุบัน
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ได้รับการเสนอชื่อเข้าเป็นกรรมการโอลิมปิกสากล และต่อมาเป็นผู้ดำเนินการ ให้ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขัน[[เอเชียนเกมส์]] ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 9–16 ธันวาคม พ.ศ. 2509
[[เอเชียนเกมส์]] ครั้งที่ 5 ที่กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 9–16 ธันวาคม พ.ศ. 2509
 
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ นอกจากนี้ยังเป็นผู้ก่อตั้ง องค์การส่งเสริมกีฬาแห่งประเทศไทย (อ.ส.ก.ท.) ขึ้นเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2507 และได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการคนแรก ซึ่งปัจจุบันคือ [[การกีฬาแห่งประเทศไทย]] (กกท.)
 
== ผลงานด้านดนตรี ==
หลวงสุขุมนัยประดิษฐ เป็นประธานชมรมดนตรีแห่งประเทศไทย ซึ่งต่อมาได้รับการยกฐานะขึ้นเป็นสมาคม เป็นผู้ก่อตั้งวงดนตรีกรมโฆษณาการ และเป็นผู้ร่วมก่อตั้ง[[วงสุนทราภรณ์]] นอกจากนี้ยังมีผลงานประพันธ์ทำนองเพลงร่วมกับครู[[แก้ว อัจฉริยะกุล]] ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์คำร้อง นำมาบรรเลงโดยวงสุนทราภรณ์ จำนวน 7 เพลง ได้แก่
 
* [[คนึงครวญ]]
นอกจากนี้ หลวงสุขุมนัยประดิษฐ ยังมีผลงานประพันธ์ทำนองเพลง โดยร่วมกับครู[[แก้ว อัจฉริยะกุล]] ซึ่งเป็นผู้ประพันธ์คำร้อง นำมาบรรเลงโดย วงสุนทราภรณ์ จำนวน 7 เพลง ได้แก่
* [[สิ้นรักสิ้นสุข]]
*[[คนึงครวญ]]
* [[ไม่อยากจากเธอ]]
*[[สิ้นรักสิ้นสุข]]
* [[เกาะสวาท]]
*[[ไม่อยากจากเธอ]]
* [[เมื่อไหร่จะให้พบ]]
*[[เกาะสวาท]]
* [[รักไม่ลืม]]
*[[เมื่อไหร่จะให้พบ]]
* [[ชายไร้เชิง]]
*[[รักไม่ลืม]]
*[[ชายไร้เชิง]]
 
== การดำรงตำแหน่งอื่นๆ ==
* เป็นกัปตันทีมฟุตบอลโรงเรียน Gunnery ชนะเลิศการแข่งขันกีฬาฟุตบอลระหว่างโรงเรียน
* เป็นกัปตันทีมบาสเก็ตบอลและเบสบอลของโรงเรียน Gunnery
เส้น 98 ⟶ 95:
* ประธานกรรมการทุนการศึกษาเพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ ฯพณฯ จอห์น อี พิวรีฟอย
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
* [[จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย]] เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472
* [[จัตุรถาภรณ์ช้างเผือก]] เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2474
เส้น 113 ⟶ 110:
* เครื่องราชอิสริยาภรณ์ [[First Class North Star]] จากประเทศสวีเดน เมื่อเดือน มกราคม พ.ศ. 2489
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [http://pradubsukhum.com/Luang%20Sukhum%20Site/Luang%20Sukhum%20Book/Opening%20Page.html ประวัติของหลวงสุขุมนัยประดิษฐ]
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [http://pradubsukhum.com/Luang%20Sukhum%20Site/Luang%20Sukhum%20Book/Opening%20Page.html ประวัติของหลวงสุขุมนัยประดิษฐ] {{ลิงก์เสีย}} <!-- ไม่พบหน้าบทความ -->
{{จบอ้างอิง}}
 
{{เรียงลำดับ|ประดิษฐ์ สุขุม}}