ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟรันซิสโก ฆาบิเอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล นักบุญ
| ชื่อ =ฟรันซิสโก ฆาเบียร์คาเบียร์
| ภาพ =FranciscusXavier.jpg
| ขนาดภาพ =200
| คำบรรยายภาพ =
| หัวข้อ = บาทหลวงและอัครทูตประจำตะวันออกไกล
| หัวข้อ =
| วันเกิด = 7 เมษายน ค.ศ.1506
| เกิดที่ = อำเภอฆาเบียร์ แคว้นนาบาร์รา {{ESP}}
| วันเสียชีวิต =3 ธันวาคม ค.ศ.1552
| เสียชีวิตที่ =หมู่เกาะซ้างชวน {{CHN-PRC}}
| นิกาย =[[โรมันคาทอลิก]] [[อังกลิคันแองกลิคัน]] [[ลูเทอรันลูเทอแรน]]
| วันประกาศ = 12 มีนาคม ค.ศ.1622
| ที่ประกาศ =
| ประกาศโดย = [[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรีที่ 15]]
| วันสมโภช = 3 ธันวาคม
| สัญลักษณ์ =
| ผู้พิทักษ์ = [[มิชชันนารี|งานธรรมทูต]]
}}
 
'''[[นักบุญ]]ฟรันซิสโก ฆาเบียร์คาเบียร์''' ({{lang-en|Francis Xavier}}, {{lang-es|Francisco Javier}}, {{lang-eu|Frantzisko Xabierkoa}}{{lang-la|Franciscus Xaverius}}) ชื่อจริง '''Francisco de Jaso y Azpilicueta'''(อ่านว่า ฟรันซิสโก เด ฆาโซ อี อัสปิลิกุเอตา) ในประเทศไทยรู้จักในนาม '''ฟรังซิสเซเวียร์''' เป็น[[บาทหลวง]][[โรมันคาทอลิก]]ชาวแคว้น[[นาบารา]] ประเทศ[[ประเทศสเปน]]ที่ นำ[[ศาสนาคริสต์]]มาเผยแพร่ที่[[ประเทศญี่ปุ่น]]เป็นคนแรกตลอดจนประเทศต่าง และนำศาสนาคริสต์[[นิกายโรมันคาทอลิก]]ไปเผยแพร่และสร้างความมั่นคงของศาสนา ในประเทศต่างๆ เช่น [[อินเดีย]] [[ศรีลังกา]] [[มาเลเซีย]] [[จีน]] [[ญี่ปุ่น]] เสียชีวิต ณ หมู่เกาะซ้างชวน ประเทศ[[ประเทศจีน]] และได้รับสถาปนาเป็นนัก บุญในพระศาสนจักร[[โรมันคาทอลิกการประกาศเป็นนักบุญ]]
 
ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เป็นสมาชิกแรกเริ่ม และหนึ่งในสมาชิกที่มีชื่อเสี่ยงมากที่สุดคนหนึ่งของ[[คณะแห่งพระเยซูเจ้า]] ซึ่งเขามีความสนิทสนมกับ [[นักบุญอิกเนเชียสแห่งลาโฮลา]]ผู้ก่อตั้งคณะ
 
== สถานะการณ์ทางประวัติศาสตร์เมื่อเกิด ==
 
ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เกิดในปี [[ค.ศ. 1506]]. หกปีหลังจากนั้น [[ค.ศ. 1512]] ได้เกิด[[การยึดครองแคว้นนาบาร์รา]] โดยกองทัพ [[แคว้นกาสติยา]]และ[[อารากอน]] ภายใต้การควบคุมของ [[Fadrique Álvarez de Toledo y Enríquez de Quiñones|Fadrique Álvarez de Toledo]], [[ดยุคดยุกแห่งอัลบา]] ตามพระบัญชาของ[[พระเจ้าเฟรนานโดที่เฟร์นันโดที่ 2 แห่งอารากอน]] ซึ่งทำให้เกิดสงครามกลางเมืองนาบาร์ราที่ยุติในปี [[ค.ศ. 1524]] สงครามครั้งนี้ทำให้อาณาจักรนาบาร์ราถูกแบ่งแยกโดยที่นาบาร์ราสูงตกไปอยู่ในกาปกครองของแคว้นกาสติยาถึงแม้ว่าจะคงความเป็นอาณาจักรถึงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ส่วนนาบาร์ราต่ำซึ่งอยู่บริเวณทางเหนือของ[[เทือกเขาพิเรนีส]]ยังคงเป็นรัฐอิสระ แต่ภายหลังก็เข้าร่วมกับฝรั่งเศส
 
ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ เกิดในตระกูลชั้นสูงในราชวงศ์ อะกรามอนต์ ผู้ปกครองนาบาร์รา บิดาของเขาชื่อ ฆวน เด ฆาโซ ซึ่งเป็นประธานสภาที่ปรึกษาของ กษัตริย์ ฆวนที่ 2 แห่งอัลเบรต หลังจากการยึดครองของกาสติยา ฆวนผู้เป็นบิดาและครอบครัวได้หนีภัยไปอยู่ที่ แบร์อาร์น และได้เสียชีวิตที่นั่นในเวลาต่อมา มิเกล และฆวน พี่ชายของฟรานซิสโก ฆาเบียร์ ได้มีบทบาทสำคัญในการทำศึกเพื่อนำนาบาร์รากลับมาอีกครั้ง ในปี ค.ศ.1521 มิเกล และฆวน ได้ต่อสู้กับ อิกนาซิโอ แห่งโลโยลา ทหารของกาสติยาที่ประจำที่ปัมโปลนา และ อิกนาซิโอได้รับบาดเจ็บ แต่ถึงกระนั้นกองทหารกาสติยาก็ชัยชนะอย่างราบคาบในที่สุด ในไม่กี่ปีต่อมา อิกนาซิโอ แห่งโลโยลาได้ก่อตั้ง[[คณะแห่งพระเยซูเจ้า]] และมี ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ เป็นสหายและผู้รวมงาน
 
== ประวัติ ==
เส้น 35 ⟶ 37:
=== การศึกษาในปารีส ===
 
ในปี ค.ศ. 1542 ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ ได้ตัดสินใจเดินทางไปศึกษา ที่[[มหาวิทยาลัย ซอร์บอน กรุงปาริสปารีส]] ซึ่งก่อนหน้านี้เขาได้รับการศึกษาในหลายสถาบัน ในหลายเมืองของนาบาร์รา และก่อนที่จะเข้ารับการศึกษาในปารีสเขาได้เรียนในปัมโปลนา
 
ในเดือนกันยายน ค.ศ.1525 ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เดือนทางไปศึกษาที่ปารีส ซึ่งที่นั่นเองเขาได้รู้จักกับอิกนาซิโอแห่งโลโยลา ผู้เป็นพื่อนสนิท และต่อมาได้รับการสถาปนาประกาศเป็นนักบุญ อิกนาซิโอไม่เคยทิ้งฟรังซิสโก ฆาเบียร์ในยามลำบาก เช่นเมื่อฟรังซิสโก ฆาเบียร์มีปัญหาด้านการเงิน
 
ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เดือนทางไปศึกษาพร้อมกับสหายอีกห้าคน ซึ่งในเวลาต่อมาคือจุดกำเนิดของ[[คณะแห่งพระเยซูเจ้า]] หลังจากที่สำเร็จการศึกษา วันที่ 15 กันยายน ค.ศ.1534 เหล่าสหายได้ปฏิญาณตนเพื่อถือความรักและความบริสุทธิ์ และในขณะเดียวกันได้ให้คำสัญญาเพื่อจะเดินทางไป [[ดินแดนศักดิ์สิทธิ์]] ส่วนฟรังซิสโก ฆาเบียร์ อยู่ที่ปารีสต่ออีกสองปีเพื่อเรียนเทววิทยา หลังจากนั้นได้รวมการบริหารจิตกับอิกนาซิโอแห่งโลโยลา
 
ปี ค.ศ. 1537 ฟรันซิสโก ฆาเบียร์กับอิกนาซิโอแห่งโลโยลาเดินทางไปกรุงโรมเพื่อขอพรจากสมเด็จพระสันตะปาปาเปาโลที่ 3 ก่อนการเดือนทางไป[[ดินแดนแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์]] แต่การเดินทางก็ไม่สามารถเกิดขึ้นเนื่องจากเกิดสงครามระหว่าง[[เวนิส]]และ[[ตุรกี]] เมื่อสหายทั้งสองได้รับ[[ศีลบรรพชาอนุกรม]]เมื่อมาถึงเวนิส ในวันที่ 24 มิถุนายนของปีเดียวกัน ในขณะที่รอเรือเพื่อจะไป[[ดินแดนแผ่นดินศักดิ์สิทธิ์]] พวกได้เริ่มพระกาศความเชื่อให้กับคนรอบข้าง และพวกเขาได้เสนอตัวต่อสมเด็จพระสันตะปาปาเพื่อจะไปประกาศความรักของพระเจ้าในสถานที่ใดก็ตาม ด้วยเหตุนั้นนี่เองพวกเขาเดินทางไป[[ลิสบอน]]ในปี ค.ศ.1540 เพี่อเริ่มชีวิตนักแพร่ธรรมเพี่อเริ่มชีวิต[[มิชชันนารี]] เหตุที่ต้องเดินทางไป[[ลิสบอน]]ก็เพราะเอกอัครราชทูตโปรตุเกส ณ กรุงโรม ได้ขอสมาชิกจำนวนหนึ่งจากอิกนาซิโอแห่งโลโยลา ในนามของกษัตริย์เจาที่3 แห่งโปรตุเกส เพื่อส่งไปยังอินเดีย ส่วนฟรังซิสโก ฆาเบียร์ถูกส่งไปโดยพระสันตะปาปาโดยได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้แทนพระองค์ในแผ่นดินของทะเลแดง อ่าวเปอร์เซีย และทะเลทั้งสองฝั่งของแม่น้ำคงคา
 
== เส้นทางการแพร่ธรรม ==
เส้น 58 ⟶ 60:
 
เดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1543 ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ได้เจอกับสหายของเขามิเซร์เปาโลและมานซิยาที่กัวและได้ขอมิชชันนารีเพิ่มจากบิขอป เขาได้บาทหลวงเพิ่มอีก 6 คน ซึ่งเขาและเพื่อนร่วมงานใหม่ได้เดินทางไปเกาะแห่งการหาปลาอีกครั้ง ระหว่างการเดินทางเขาได้เขียนจดหมายหลายฉบับไปยังสหายในโรม หนึ่งในนั้นมีใจความว่า
{{quote|คริสตชนเราละเลยส่วนนี้ เนื่องจากว่ามีคนทื่ทำหน้าที่ประกาศพระวรสาร หลายครั้งหลายคราวที่ฉันมีความคิดที่ไปยังมหาวิทยาลัยเหล่านั้น และฉันจะใช้เสียงเหมือนคนแพ้คดีความ และโดยเฉพาะมหาวิทยาลัยแห่งปารีส ไปพูดที่ซอร์บอนกับคนที่มีความรู้มากกว่าความตั้งใจเพราะต้องการได้ดอกผลจากความรู้นั้นว่า มีวิญญาณมากมายที่ไม่ได้ไปสู่สิริรุ่งโรจน์เนื่องจากความละเลยของพวกเขา มีจำนวนมากเหลือเกินคนที่รับเชื่อ[[พระคริสเจ้าคริสต์]]ในแผ่นดินเหล่านี้ที่ฉันเดินอยู่ และหลายครั้งที่ฉันเหน็ดเหนื่อยเนื่องจากการโอบกอดใน[[ศีลล้างบาป]] ฉันไม่สามารถกล่าวข้อความเชื่อและพระบรรญัติบัญญัติและบทภาวนาอื่นๆอื่น ๆ ในภาษาของพวกเขาหลายครั้ง}}
 
ที่เกาะหาปลาได้แบ่งงานเป็นเขตให้แก่ผู้รับผิดชอบ หลังจากแบ่งงานแล้วฟรังซิสโก ฆาเบียร์เดินทางไปยังมานาปาร์ เขาอยู่ที่นั่นหนึ่งเดือนและได้โปรดศีลล้างบาปให้มากกว่าหนึ่งหมื่นคน
 
ระหว่างปีค.ศ1544 ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เดินทางเผยแพร่ศาสนามากกว่ายี่สิบครั้ง เขาได้กลับไปยังกัวและหารือกับผู้ว่าการเมือง เพื่อขอกำลังทหารและขอติดตามไปช่วยเหลือชาว[[คริสต์ ศาสนิกชน]]ที่โดนประหารในศรีลังกา แต่ว่าด้วยเหตุผลบางประการการเดินทางนี้ไม่เกิดขึ้น
 
ปีค.ศ.1545 ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เดินทางไปยังเกาะมาลุกะพร้อมกับสหาย ฆวน เอยโร และก็ถึงมะละกาในเวลาต่อมา ในเวลาสามเดือนฟรันซิสโก ฆาเบียร์ได้เรียนภาษาขั้นพื้นฐานและทำความคุ้นเคยกับวัฒนธรรมท้องถิ่น และเขาก็ได้แปลหลักการพื้นฐานของความเชื่อคาทอลิกด้วยควมช่วยเหลือของผู้รู้คนอื่น และในปีเดียวกันเขาเขียนจดหมายกราบทูลกษัตริย์โปรตุเกสเกี่ยวกับ ''ความไม่ยุติธรรมและการดูถูกเหยียดหมายของจำนวนหน้าที่ของพระองค์''
เส้น 70 ⟶ 72:
เดือนมิถุนายน ฟรันซิสโก ฆาเบียร์เดินทางถึงเทอร์เนต ซึ่งเป็นเมืองการค้าเครื่องเทศที่มั่งคั่งของโปรตุเกส เขาอยู่ที่นั่นเป็นเวลาสามเดือน จากที่นั่นเขาเดือนทางไปยังเกาะโมโรและอยู่ที่นั่นอีกสามเดือน จากที่เกาะนั้นเขาเดือนทางต่อไปยังโคชิ ถึงโคชิเมื่อวันที่ 13 มกราคม ค.ศ.1548
 
หลังจากที่ได้ตรวจตาและจัดระเบียบคณะแพร่ธรรมที่อินเดียและหมู่เกาะมาลุกะแล้ว ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ผิดหวังกับผลงานที่ในอินเดีย เขาจึงเดินทางไปญี่ปุ่น กับสหาย กอสเม เด ตอร์เรส, ฆวน เฟรนันเดส และล่ามนามอะนิจิโร ออกเดินทางในวันอาทิตย์ใบลาน ค.ศ.1549 ถึงญี่ปุ่นวันที่ 15 สิงหาคมของปีเดียวกัน พวกเขาลงเรือที่[[คะโงะชิมะ]] เมืองหลวงของญี่ปุ่นใต้ในขณะนั้น เขาอยู่ที่เมืองนั้นหนึ่งปีและอยู่ในญี่ปุ่นเป็นเวลาสองปีสามเดือน ในญี่ปุ่นฟรันซิสโก ฆาเบียร์มีเพื่อนร่วมงาน[[การประกาศพระวรสารคือข่าวดี]]คือ ปาโบล เด ซานตาเฟ พวกเขาแปล ''การประกาศข้อความเชื่อ'' ซึ่งถูกท่องจำและกล่าวตามท้องถนน ซึ่งหากมีคำถามใดจะใช้บริการล่าม ฟรังซิสโกฆาเบียร์มีความคาดหวังว่าหากสามารถเปลี่ยนความเชื่อให้แก่กษัตริย์ได้จะทำให้ประชาชนเปลี่ยนตาม ดังนั้นเขาจึงเดินทางขึ้นเหนือใน ค.ศ.1550 และด้วยความหวังนี้จึงได้ตั้งกลุ่มคริสตชนที่ ฮิระโดะ เดินทางต่อไปยามะงูชิ หลังจากนั้นเดินทางไปซากะอิ และเมอาโกะตามลำดับ แม่เขาไม่เคยได้รับโอกาสที่กษัตริย์จะยอมให้เขาเข้าเฝ้า
 
ฟรันซิสโก ฆาเบียร์ กลับมายังยะมะงุชิอีกครั้ง และเขาได้รับการรับรองว่าจะไม่เบียดเบียนผู้เปลี่ยนศาสนาจากเจ้าชาย ในขณะนั้นผลงานของการประกาศศาสนาได้ปรากฏขึ้น ที่นั่นมีกลุ่มคาทอลิกเล็ก ผู้รับเชื่อที่นั่นจำมากเป็นซามูไร ซึ่งทำให้เกิดการขัดแย้งตระกูลบอนโซ
 
เดือนกันยายน ค.ศ. 1551 ฟรันซิสโกฆาฟรันซิสโก ฆาเบียร์ถูกเรียกโดยเจ้าชายแห่งบุงโกและอนุญาตให้ประกาศศาสนาได้ทั่วเกาะ หนึ่งเดือนต่อมาฟรันซิสโกฆาเบียร์เดือนทางกลับอินเดีย เดือนทางโดยเรือ''ซานตากรูซ''โดยมีดิเอโก เปเรยดาเป็นกัปตันเรือ ซึ่งกัปตันผู้นี้เองเป็นผู้ออกึวามคิดเรื่องสถานเอกอัคครราชทูตโปรตุเกสในจีน เมื่อเขาเดือนทางถึงมะละกา เขาได้ทราบว่าอินเดียได้ถูกยกฐานะเป็นแขวงคณะเยสุอิตเอกเทศออกจากแขวงโปรตุเกสที่เขาสังกัดอยู่
 
24 มกราคม ค.ศ.1552 เดินทางถึงโคชิ และวันที่ 18 กุมภาพันธ์ก็เดินทางมาถึงกัว หลังจากที่แก้ปัญหาต่างๆเสร็จสิ้นแล้ว ฟรันซิสโกฆาเบียร์ออกเดินทางไปจีน วันที่ 14 เมษายน การเดินทางครั้งนี้มีผู้ร่วมทางคือคุณพ่อกาโก พี่ของอันโตนิโอ เฟเรยรา อันโตนิโอ เด ซานตาเฟ (เชื้อสายจีน) และผู้รับใช้ชาวอินเดียนามกริสโตบาล ออกเรือจาก''ซานตากรูซ''โดยมีเปเรยดาเป็นกัปตันเรือ
เส้น 85 ⟶ 87:
[[ไฟล์:Casket_of_Saint_Francis_Xavier.jpg|thumb|200px|หลุมฝังศพที่กัว]]
 
== การสถาปนาประกาศเป็นนักบุญ องค์อุปถัมภ์และงานวันฉลอง ==
ถูกสถาปนาฟรันซิสโก คาเบียร์ได้รับ[[การประกาศเป็นนักบุญ]]โดย[[สมเด็จพระสันตะปาปาเกรโกเกรกอรีที่ 15]] ในปี ค.ศ.1622 พร้อมกับนักบุญ[[อิกนาซิโอแห่งโลโยลาเนเชียสแห่งโลโยลา]] นักบุญเท[[เตเรซาแห่งพระกุมารเยซูอาบีลา]] นักบุญอิสิโดร ลาบอดอ และน้กบุญฟิลิปนักบุญฟิลิป เนรี
 
ได้รับการยกย่องเป็นองค์อุปถัมภ์ในหลายสถานที่และภารกิจ:
* ค.ศ.1748 องค์อุปถัมภ์ ในแผ่นดินของแหล่งแห่งความหวังดี
* ค.ศ.1904 องค์อุปถัมภ์ การประกาศความเชื่อ
* ค.ศ.1927 สมเด็จพระสันตะปาปาปีอุสที่ 11 สถาปนาเป็นองค์อุปถัมภ์งานแพร่ธรรมร่วมกับนักบุญเทเรซา[[เตแรสแห่งพระกุมารเยซูลีซีเยอ]]
* องค์อุปถัมภ์ลูกเสือคาทอลิก
องค์อุปถัมภ์ของนาบาร์รา ร่วมกับนักบุญเฟร์มิน และนักบุญ มารีอา ลา เรอัล ต้นเดือนมีนาคมจะมีผู้แสวงบุญจำนวนมากจาริกไปที่ปราสาทฆาเบียร์
 
{{birth|1506}}
{{death|1552}}
[[หมวดหมู่:นักบุญชาวสเปน]]
{{โครงบุคคล}}