ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทียนนกแก้ว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ซาลาเปา หมูแดง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ซาลาเปา หมูแดง (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 19:
'''ลำต้น''' ลำต้นอวบ[[น้ำ]] สูง 0.5-1.5 เมตร ไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี สูง 30-150 ซม. ลำต้นกลวงและเป็นข้อปล้อง แตกกิ่งก้านมากมาย ลำต้นอ่อนสีม่วงอมแดงและอวบน้ำ ลำต้นแก่สีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่
 
'''ใบ'''
'''ใบ''' [[ใบ]]เดี่ยว ออกเรียงสลับเวียนรอบลำต้นเป็นเกลียว รูปใบหอก หรือรูปไข่กว้าง กว้าง 2-4 ซม. ยาว 4-6 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นหนามแหลมสั้น โคนใบมน ผิวใบเรียบ
 
'''ดอก'''
'''ดอก''' ออก[[ดอก]]<ref>[http://www.tourdoi.com/flower/chd/parrot_flower/index.html ลักษณะดอกเทียนนกแก้ว], ทัวร์ดอย.com</ref>เดี่ยวตามก้านใบและปลายยอด ดอกมีรูปร่างคล้ายนกแก้วกำลังกางปีกบินดูสวยงามสะดุดตา ขนาดดอก 2-3 ซม. ดอกสีม่วงแกมแดงและขาว หรือสีชมพูเข้มแกมแดงและขาว กลางดอกมีแต้ม
สีเหลือง ดอกเป็นรูปหลอดกว้าง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน สีชมพูอมขาวและมีจุดประสีม่วงแดง กลีบบนรูปขอบขนานมีขนาดยาวที่สุด ปลายกลีบแยกลึกเป็น 2 แฉก กลีบข้าง 2 กลีบแผ่เป็นปีกแคบ กลีบล่างแผ่เป็นปีกกว้าง ปลายกลีบเว้าเป็น 2 พู เกสรตัวผู้มัดรวมกันลักษณะม้วนงอ กลีบรองกลีบดอกเป็นรูปถ้วยปากบาน ส่วนโค้งเป็นถุง มีงวงน้ำหวานขนาดสั้นอยู่ท้ายสุด บริเวณที่ติดกับก้านดอกพองออกเป็นปีกโค้งกลม ๆ 2 ปีก ก้านดอกยาวได้ถึง 6 ซม. ออกดอกในราวเดือนสิงหาคมถึงต้นเดือนธันวาคม
 
'''ผล'''
เป็นฝักยาวรูปกระสวย มีเมล็ดเป็นจำนวนมาก
 
==แหล่งกำเนิดและแพร่กระจาย==
เส้น 31 ⟶ 34:
==ประโยชน์==
เป็นพืชหายาก สวยงาม ได้ชมแล้วชื่นใจ
 
[[ไฟล์:View resizing images.jpg|thumb|left|วิกิพีตังสัญลักษณ์ตัวการ์ตูนในวิกิพีเดีย]]
[[ไฟล์:View resizing images.jpg|thumb|left|ดอกเทียนนกแก้วบนยอดดอยเชียงดาว]]
===ความงามไร้ที่ติ===
เหตุที่กล่าวว่าเป็นพืชที่สูงค่า เนื่องจากการพบเจอนั้นค่อนข้างลำบาก และสภาพแวดล้อม อุณหภูมิค่อนข้างต่ำ สามารถพบเทียนนกแก้วได้ที่[[ดอยหลวงเชียงดาว]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] ซึ่งบริเวณมีลักษณะเป็นเทือกเขา ซึ่งเทือกเขาเหล่านี้ประกอบไปด้วยยอดเขาสูงหลายยอด ยอดเขาที่สูงที่สุดเรียกว่าดอยหลวงเชียงดาว มีความสูงจาก[[ระดับน้ำทะเล]] 2,220 เมตรครอบคลุมพื้นที่ตำบลเมืองแหง อำเภอเวียงแหง ตำบลเมืองงาย ตำบลเมืองคลง ตำบลเชียงดาวและตำบลแม่น จังหวัด[[เชียงใหม่]] การเดินทางไปดูดอกเทียนนกแก้วนั้นจะต้องเดินไปตามป่า ขึ้นไปยังยอดดอย ซึ่งเป็นเป็นเทือกเขาหินปูน มีแนวทอดยาวรวมทั้งพืชพันธ์ดอกไม้ประเภทกึ่งอัลไพน์ เป็นพืชเฉพาะถิ่น หายากมีอยู่ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนธันวาคมดอกไม้ชนิดแรกที่จะเจอคือเทียนนกแก้วที่มีให้เห็นเฉพาะช่วงที่มีฝนหรือมีความชื้นสูงเท่านั้น นอกจากนี้ยังพบ ชมพูพิมพ์ใจ นางจอย หรีดเชียงดาว ฟองหินเหลือง ฟ้าคราม เหยื่อจง ขาวปั้น เป็นต้น
 
 
 
 
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
* [http://www.ipni.org/ipni/idPlantNameSearch.do?id=374288-1 Botanical Authorship]