ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นัตโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า นัตโตะ ไปยัง นัตโต
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาด +แทนที่ "นัตโตะ" → "นัตโต" ด้วยสจห.
บรรทัด 1:
[[Imageไฟล์:Natto on rice.jpg|thumb|250px|นัตโตะบนข้าวนัตโตบนข้าว]]
'''นัตโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|納豆 (なっとう)|Nattō}}) เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ทำจาก[[ถั่วเหลือง]] หมักด้วยเชื้อแบคทีเรีย ''[[Bacillus subtilis]]'' สายพันธุ์ ''natto'' นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า นัตโตะอุดมไปด้วย[[โปรตีน]] เช่นเดียวกับ[[มิโซะ]] ทำให้เป็นแหล่งโภชนาการที่สำคัญของญี่ปุ่นมาช้านานและคุณค่าทางโปรตีนที่สูงทำให้สามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ แต่เนื่องจากนัตโตะมีกลิ่นแรงและมีลักษณะเป็นเมือกซึ่งเกิดจากการย่อยโปรตีนระหว่างการหมัก ดังนั้นจึงทำให้มีทั้งผู้ที่ชอบและไม่ชอบ ในญี่ปุ่นนิยมรับประทานกันในแถบภาคตะวันออก เช่น [[คันโต]] [[โทโฮะกุ]]และ[[ฮกไกโด]]<ref>Shurtleff, W.; Aoyagi, A. 2012. "History of Natto and Its Relatives (1405-2012)." Lafayette, California: Soyinfo Center. 657 pp. (1,934 references; 136 photos and illustrations).</ref>
[[File:Natto, with welsh onion and karashi by yoppy.jpg|thumb|นัตโตะ ปรุงแต่งด้วยต้นหอม มัสตาร์ด]]
 
'''นัตโตะนัตโต''' ({{ญี่ปุ่น|納豆 (なっとう)|Nattō}}) เป็นอาหารพื้นเมืองของประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ทำจาก[[ถั่วเหลือง]] หมักด้วยเชื้อแบคทีเรีย ''[[Bacillus subtilis]]'' สายพันธุ์ ''natto'' นิยมรับประทานเป็นอาหารเช้า นัตโตะนัตโตอุดมไปด้วย[[โปรตีน]] เช่นเดียวกับ[[มิโซะ]] ทำให้เป็นแหล่งโภชนาการที่สำคัญของญี่ปุ่นมาช้านานและคุณค่าทางโปรตีนที่สูงทำให้สามารถใช้แทนเนื้อสัตว์ได้ แต่เนื่องจากนัตโตะนัตโตมีกลิ่นแรงและมีลักษณะเป็นเมือกซึ่งเกิดจากการย่อยโปรตีนระหว่างการหมัก ดังนั้นจึงทำให้มีทั้งผู้ที่ชอบและไม่ชอบ ในญี่ปุ่นนิยมรับประทานกันในแถบภาคตะวันออก เช่น [[คันโต]] [[โทโฮะกุ]]และ[[ฮกไกโด]]<ref>Shurtleff, W.; Aoyagi, A. 2012. "History of Natto and Its Relatives (1405-2012)." Lafayette, California: Soyinfo Center. 657 pp. (1,934 references; 136 photos and illustrations).</ref>
==ขั้นตอนการทำ==
[[Fileไฟล์:Natto, with welsh onion and karashi by yoppy.jpg|thumb|นัตโตะนัตโต ปรุงแต่งด้วยต้นหอม มัสตาร์ด]]
 
== ขั้นตอนการทำ ==
นำถั่วเหลืองไปแช่น้ำค้างคืนแล้วเอาเปลือกออก จากนั้นนำไปนึ่งแล้วใส่เชื้อ ''Bacillus sp.'' หมักที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 20 ชั่วโมง จากนั้นทำให้เย็นจนถึงอุณหภูมิปกติ การใส่เชื้อที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะช่วยลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ชนิดอื่น ๆ ขั้นตอนสุดท้ายคือการนำไปใส่ภาชนะหรือฟางข้าวห่อ จากนั้นนำไปบ่ม
 
== การรับประทาน ==
การรับประทานนัตโตะนัตโตนั้นจะแตกต่างกันในแต่ละคน โดยส่วนใหญ่แล้วจะรับประทานร่วมกับการผสมกับโชยุ (ซีอิ๊วญี่ปุ่น) ต้นหอมซอย หัวไชเท้าฝอย ไข่ดิบ หรืออาจจะนำไปประกอบอาหาร เช่น ข้าวผัดนัตโตะนัตโต ราเม็งนัตโตะนัตโต ซูชินัตโตะนัตโต แซนวิชนัตโตะนวิชนัตโต เป็นต้น
 
== ประโยชน์และคุณค่าทางสารอาหาร ==
นัตโตะนัตโตเป็นอาหารที่อุดมไปด้วยโปรตีน [[โปรไบโอติกส์]] [[วิตามินบี 12]] และ[[สารต้านอนุมูลอิสระ]] มีคุณสมบัติช่วยลดระดับ[[คอเลสเตอรอล]] ป้องกันโรคหัวใจ และลดโอกาสเส้นเลือดในสมองแตกได้
 
ถั่วเหลืองหมักรวมทั้งนัตโตะมีนัตโตมี [[Pyrroloquinoline quinone|vitamin PQQ]] ซึ่งจำเป็นสำหรับผิวหนัง<ref>
{{cite journal
| author = T Kumazawa, K Sato, H Seno, A Ishii, O Suzuki
| title = Levels of pyrroloquinoline quinone in various foods
| journal = Biochem. J.
| volume = 307
| issue = Pt 2
| pages = 331–333
| pmid = 7733865
| date = April 1, 1995
| pmc = 1136652 }}</ref> โดย PQQ ในเนื้อเยื่อของมนุษย์ส่วนใหญ่ได้มาจากอาหาร นอกจากนั้นยังมี polyamine ซึ่งกดปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกันที่มากเกินไป โดยนัตโตะนัตโตมีมากกว่าอาหารอื่น ๆ<ref>{{cite journal
| author = Kuniyasu Soda, Yoshihiko Kano, Takeshi Nakamura, Keizo Kasono, Masanobu Kawakami and Fumio Konishi
| year = 2005
| month = July
| title = Spermine, a natural polyamine, suppresses LFA-1 expression on human lymphocyte
| journal = The Journal of Immunology.
| volume = 175 | issue = 1
| pages = 237–45
| pmid = 15972654 }}</ref>
 
นัตโตะนัตโตมีสารเคมีที่มีฤทธิ์ป้องกันมะเร็งหลายชนิด เช่น [[daidzein]], [[genistein]], [[isoflavone]], [[phytoestrogen]] และธาตุอาหาร เช่น [[ซีลีเนียม]] ซึ่ง ส่วนใหญ่สารเหล่านี้ พบในผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลืองหมักอื่นๆด้วย และการออกฤทธิ์ยังไม่ชัดเจน มีรายงานว่านัตโตะนัตโตมีผลทำให้คอเลสเทอรอลลดระดับลงเช่นกัน<ref>{{cite web
| author = National Cardiovascular Center (Suita, Osaka, Japan) HuBit genomix, Inc. (Chiyoda-ku, Tokyo, Japan; President and CEO: Go Ichien) NTT DATA Corporation (Koto-ku, Tokyo, Japan; President and CEO: Tomokazu Hamaguchi) Municipality of Arita, Saga Prefecture, Japan (Mayor: Masata Iwanaga)
| year = 2006
| month = April
| title = Examining the Effects of Natto (fermented soybean) Consumption on Lifestyle-Related Diseases
| url = http://www.nttdata.co.jp/en/media/2006/042700.html
| accessdate = 2007-03-19}}{{dead link|date=June 2011}}</ref>
 
ในกองทัพเรือญี่ปุ่น ใช้นัตโตะนัตโตเป็นยาป้องกันโรคบิคในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2<ref>{{cite journal
| author = 有馬玄
| year = 1937
| volume = 26
| pages = 398–419
| title = 納豆菌ト赤痢菌トノ拮抗作用ニ関スル実験的研究(第2報)動物体内ニ於ケル納豆菌と志賀菌トノ拮抗作用
| journal = 海軍軍医誌}}</ref> บางครั้งใช้เป็นอาหารสัตว์เลี้ยงด้วย<ref>{{cite web
| title = ドットわんフリーズドライ納豆
| url = http://www.purebox.jp/dwfd/nattou/index.html
| accessdate = 2007-03-20 }}
</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{โครงอาหาร}}
[[หมวดหมู่:ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง]]
{{โครงอาหาร}}
[[ca:Natto]]
[[da:Nattō]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/นัตโต"