ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ที่ปรึกษา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Aristitleism ย้ายหน้า ที่ปรึกษาธุรกิจ ไปยัง ที่ปรึกษา
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{จัดรูปแบบ}}
'''ที่ปรึกษา''' หมายถึง ผู้มีหน้าที่ให้ความเห็นแนะนำ
 
ที่ปรึกษาธุรกิจ คือ [[ผู้ประกอบวิชาชีพ]]ซึ่งอาจเป็นรายบุคคลหรือ[[นิติบุคคล]]ที่เป็น [[ห้างหุ้นส่วน]] หรือ[[บริษัท]] โดยมีหน้าที่ให้คำปรึกษาพร้อมชี้แนะแนวทางให้[[ผู้ประกอบการ]]สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างราบรื่นและยั่งยืน ที่ปรึกษาธุรกิจนั้นจะต้องเป็นผู้ที่มี[[จรรยาบรรณวิชาชีพ]]อย่างสูง และมีความรู้ทางวิชาการ ประสบการณ์ และความสามารถให้บริการที่ปรึกษา และเสนอแนะ ความรู้ทางวิชาการในสาขาต่างๆ อาทิ [[วิศวกรรม]] [[สถาปัตยกรรม]] [[เศรษฐศาสตร์]] [[สังคม]] และ[[การเมือง]] [[การบริหาร]] [[การจัดการ]] [[การตลาด]] ฯลฯ ทั้งนี้ รูปแบบการให้บริการประกอบด้วย การศึกษาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนโดยพิจารณาด้านเทคนิค เศรษฐกิจ การเงิน สังคม และสิ่งแวดล้อม การศึกษาสำรวจและออกแบบในรายละเอียดทางด้าน[[วิศวกรรม]]และ[[สถาปัตยกรรม]] และการวางแผนและควบคุมการก่อสร้างโครงการขนาดใหญ่และซับซ้อน ซึ่งเกี่ยวข้องกับงานหลายๆ ด้าน โดยจำเป็นต้องใช้วิศวกรที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญซึ่งมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในงานที่เกี่ยวข้องทั้งทางเทคนิค [[วิศวกรรม]] [[เศรษฐศาสตร์]] [[การเงิน]] และ[[การบริหาร]] เป็นจำนวนมาก ทั้งนี้ เพื่อหาวิธีการที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่[[ผู้ประกอบการ]]<ref>ที่มา ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง http://svpdmo.pdmo.mof.go.th/</ref>
 
== การแบ่งประเภทของที่ปรึกษา ==
เส้น 10 ⟶ 8:
 
ที่ปรึกษาทางการบริหาร คือที่ปรึกษาเฉพาะด้านที่มีความรู้และประสบการณ์ทางการบริหารด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน และต้องมีจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างสูงเช่นเดียวกับที่ปรึกษาอื่น ๆ
 
=== ที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน ===
 
ที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน คือ ที่ปรึกษาทางการบริหารที่มีสถาบันที่ปรึกษารับรองว่ามีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่สถาบันกำหนด
 
ที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐานของภาครัฐได้รับการรับรองจาก UK Institute of Management Consultancy จำนวน 24 คน และเมื่อมีการจัดตั้ง The Institute of Management Consultants Association of Thailand (IMCT) ขึ้นในประเทศไทยแล้วก็มีข้าราชการได้รับการรับรองให้เป็นที่ปรึกษาทางการบริหารอีก 8 คน<ref>ที่มา ศูนย์ข้อมูลที่ปรึกษาไทย ข้อมูล ณ วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2550</ref>
 
== แบ่งตามลักษณะการดำเนินงาน ==
 
อาชีพที่ปรึกษามีอยู่ 2 กลุ่ม<ref>ที่มา People Value เวปธรรมดาที่อยากให้คนธรรมดาประสบความสำเร็จ http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104642&Ntype=8 "ณรงค์วิทย์ แสนทอง"</ref>ดังนี้
 
=== กลุ่มที่ทำงานเป็นโครงการ ===
 
เส้น 25 ⟶ 23:
 
ส่วนใหญ่องค์กรจะจ้างที่ปรึกษากลุ่มนี้เป็นรายเดือน ไม่มีงานอะไรแน่นอน แต่มักจะจ้างไว้ให้อุ่นใจ เผื่อมีเรื่องอะไรที่เกี่ยวข้องจะได้ขอคำปรึกษาได้ หรือจะให้เป็นผู้ประสานงานกับผู้รู้ในสาขาอาชีพนั้นๆต่อไป ที่ปรึกษากลุ่มนี้มักจะกำหนดเวลา ในการเข้าไปยังองค์กรที่เป็นที่ปรึกษาอยู่ค่อนข้างแน่นอนว่าเดือนละกี่ครั้ง
 
----
== สถาบันที่ปรึกษา ==
 
สถาบันที่ปรึกษา หมายถึงการรวมตัวกันของผู้ประกอบอาชีพที่ปรึกษา เพื่อการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพ สถาบันควรด้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ
ทั้ง UK Institute of Management Consultancy และ The Institute of Management Consultants Association of Thailand (IMCT) ที่เป็นผู้ทำการประเมินที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐานให้กับภาครัฐ เป็นสมาชิกของ International Council of Management Consulting Institutes (ICMCI)
 
----
== อ้างอิง ==
 
{{รายการอ้างอิง}}
----
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* http://svpdmo.pdmo.mof.go.th/
* http://www.icmci.org
* http://www.tris.co.th
 
[[หมวดหมู่:อาชีพ]]