ที่ปรึกษา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ จัดลิงก์ภายใน และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
ที่ปรึกษา หมายถึง ผู้มีหน้าที่ให้ความเห็นแนะนำ
การแบ่งประเภทของที่ปรึกษา
แก้แบ่งตามลักษณะที่มา
แก้ที่ปรึกษาทางการบริหาร
แก้ที่ปรึกษาทางการบริหาร คือที่ปรึกษาเฉพาะด้านที่มีความรู้และประสบการณ์ทางการบริหารด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน และต้องมีจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างสูงเช่นเดียวกับที่ปรึกษาอื่น ๆ
ที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน
แก้ที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐาน คือ ที่ปรึกษาทางการบริหารที่มีสถาบันที่ปรึกษารับรองว่ามีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่สถาบันกำหนด
แบ่งตามลักษณะการดำเนินงาน
แก้อาชีพที่ปรึกษามีอยู่ 2 กลุ่ม[1]ดังนี้
กลุ่มที่ทำงานเป็นโครงการ
แก้ส่วนใหญ่จะเน้นในการวางระบบหรือพัฒนาระบบงานใดงานหนึ่ง หรือหลายระบบ ทำงานเป็นโครงการมีระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดแน่นอน
กลุ่มที่เป็นที่ปรึกษาประจำองค์กร
แก้ส่วนใหญ่องค์กรจะจ้างที่ปรึกษากลุ่มนี้เป็นรายเดือน ไม่มีงานอะไรแน่นอน แต่มักจะจ้างไว้ให้อุ่นใจ เผื่อมีเรื่องอะไรที่เกี่ยวข้องจะได้ขอคำปรึกษาได้ หรือจะให้เป็นผู้ประสานงานกับผู้รู้ในสาขาอาชีพนั้นๆต่อไป ที่ปรึกษากลุ่มนี้มักจะกำหนดเวลา ในการเข้าไปยังองค์กรที่เป็นที่ปรึกษาอยู่ค่อนข้างแน่นอนว่าเดือนละกี่ครั้ง
สถาบันที่ปรึกษา
แก้สถาบันที่ปรึกษา หมายถึงการรวมตัวกันของผู้ประกอบอาชีพที่ปรึกษา เพื่อการรักษาคุณภาพและมาตรฐานของการประกอบวิชาชีพ สถาบันควรได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการ ทั้ง UK Institute of Management Consultancy และ The Institute of Management Consultants Association of Thailand (IMCT) ที่เป็นผู้ทำการประเมินที่ปรึกษาทางการบริหารที่ได้รับการรับรองคุณภาพมาตรฐานให้กับภาครัฐ เป็นสมาชิกของ International Council of Management Consulting Institutes (ICMCI)
อ้างอิง
แก้- ↑ ที่มา People Value เวปธรรมดาที่อยากให้คนธรรมดาประสบความสำเร็จ http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104642&Ntype=8 "ณรงค์วิทย์ แสนทอง"