ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำนวนสมบูรณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: sk:Dokonalé číslo
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
==จำนวนสมบูรณ์คู่==
 
[[ยุคลิด]]ได้ค้นพบว่า จำนวนสมบูรณ์สี่ตัวแรกนั้นสามารถหาโดยใช้สูตร 2<sup>''n''&minus;1</sup>(2<sup>''n''</sup>&nbsp;&minus;&nbsp;1) ได้
 
:สำหรับ ''n'' = 2: &nbsp; 2<sup>1</sup>(2<sup>2</sup> &minus; 1) = 6
:สำหรับ ''n'' = 3: &nbsp; 2<sup>2</sup>(2<sup>3</sup> &minus; 1) = 28
:สำหรับ ''n'' = 5: &nbsp; 2<sup>4</sup>(2<sup>5</sup> &minus; 1) = 496
:สำหรับ ''n'' = 7: &nbsp; 2<sup>6</sup>(2<sup>7</sup> &minus; 1) = 8128
 
สังเกตว่าในแต่ละตัวอย่างที่ยกมา 2<sup>''n''</sup>&nbsp;&minus;&nbsp;1 จะเป็น[[จำนวนเฉพาะ]]เท่านั้น ยุคลิดได้พิสูจน์ว่า ถ้า 2<sup>''n''</sup>&nbsp;&minus;&nbsp;1 เป็นจำนวนเฉพาะแล้ว สูตร 2<sup>''n''&minus;1</sup>(2<sup>''n''</sup>&nbsp;&minus;&nbsp;1) จะให้ผลลัพธ์เป็นจำนวนสมบูรณ์คู่เสมอ
 
นักคณิตศาสตร์สมัยก่อน ได้ตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับจำนวนสมบูรณ์จากจำนวนสมบูรณ์ที่เขารู้เพียง 4 ตัว ซึ่งสมมติฐานที่เขาได้ตั้งส่วนใหญ่จะผิด เช่น สมมติฐานที่ว่า เพราะว่า ''n'' = 2, 3, 5, 7 เป็นจำนวนเฉพาะ 4 ตัวแรก ที่นำไปแทนในสูตรแล้วได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนสมบูรณ์ ดังนั้น ''n'' = 11 ซึ่งเป็นจำนวนเฉพาะตัวที่ 5 จะทำให้ได้ผลลัพธ์เป็นจำนวนสมบูรณ์เช่นกัน อย่างไรก็ตาม 2<sup>11</sup>&nbsp;&minus;&nbsp;1&nbsp;=&nbsp;2047&nbsp;=&nbsp;23&nbsp;·&nbsp;89 ซึ่งไม่เป็นจำนวนเฉพาะ ดังนั้น สมมติฐานนี้จึงผิด '''สมมติฐานที่ผิด'''อีกสองข้อ ได้แก่
*จำนวนสมบูรณ์ตัวที่ 5 จะต้องมี 5 หลัก เพราะว่าจำนวนสมบูรณ์ 4 ตัวแรกมี 1, 2, 3, 4 หลัก ตามลำดับ
*จำนวนสมบูรณ์จะลงท้ายด้วยเลข 6 หรือ 8 สลับกันเสมอ