ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยามหินทรศักดิ์ธำรง (เพ็ง เพ็ญกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
cleanup
บรรทัด 10:
ต่อมารัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าหมื่นสรรเพธภักดี เป็น "พระยาราชสุภาวดี สมุหพระสุรัสวดี"
เนื่อง จากในสมัยนั้น ระบบไพร่มีความซับซ้อนมาก ไพร่จะต้องสังกัด กับมูลนาย ทำให้ไม่สามารถ ย้ายถิ่นฐาน เพื่อการประกอบอาชีพได้ และนำไปสู่ปัญหาอื่น เช่น ในเวลาที่บ้านเมืองถูกคุกคาม จากจักรวรรดินิยม ไพร่อาจขอขึ้นทะเบียนสังกัด เป็นคนในบังคับต่างชาติได้
ด้วย เหตุนี้ พระองค์จึงทรงดำริให้ ไพร่มีหน้าที่ ต่อราชการ เท่าเทียมกัน โดยให้มีการแลกตัวเลก ซึ่งจะให้มีฐานะเสมอกัน (ตัวเลกหมายถึงไพร่) โดยขณะนั้น พระยาราชสุภาวดี สมุหพระสุรัสวดี ทำหน้าที่ ดูแลกรมพระสุรัสวดี ซึ่งเป็นเพียงกรมเล็กๆ ที่มีหน้าที่สักเลก ในเขตความรับผิดชอบเท่านั้น (งานสักเลก เป็นงานหลัก ของกรมมหาดไทย ,กรมพระกลาโหม และกรมท่า) ในปี พ.ศ. 2417 จึงมีพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เลื่อนพระยาราชสุภาวดี เจ้ากรมพระสุรัสวดีเป็น "เจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง สกูลวงศ์อรเอกดิเรกยศ มธุรพจนสุนทรธรรมยุติยานุวัติ บุรุษรัตนทุวาธิราชนิกรวรยุคลบาท บรมนาถสวามิภักดิสนิท วิสิฐคุณศรีรัตนธาดา อภัยพิริยบรากรมพาหุ" เท่าเทียมกับ[[สมุหนายก]] [[สมุหพระกลาโหม]] และกรมท่า เพื่อให้มีอำนาจ ในการจัดระเบียบ การควบคุมกำลังคน และการสักเลกมากกว่าเดิม รวมทั้งการเกณฑ์ไพร่ มาทำราชการ ในกรณีพิเศษ เช่น การปราบปรามโจรผู้ร้าย การปราบกบฎกบฏ เป็นต้น