ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคว้นสุพรรณภูมิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
Panyatham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
''สำหรับความหมายอื่น ดูที่ [[ดินแดนสุวรรณภูมิ]] ระวังสับสนกับ [[ดินแดนสุวรรณภูมิ]]''
 
{{ลบ|ไม่มีเนื้อหา เนื้อหาส่วนใหญ่ซ้ำกับ [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]]}}
{{อย่าเพิ่งลบ|พึ่งเริ่มต้นค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล ยังมีหลายส่วนที่ยังไม่ได้คัดกลองก่อนบันทึกลงในบทความนี้}}
''สำหรับความหมายอื่น ดูที่ [[ดินแดนสุวรรณภูมิ]] ระวังสับสนกับ [[ดินแดนสุวรรณภูมิ]]''
 
'''อาณาจักรสุพรรณภูมิ''' หรือ '''แคว้นสุพรรณภูมิ''' เป็นแคว้นของชนชาติไทยในอดีต มีมาก่อนสถาปณา[[กรุงศรีอยุธยา]] โดยมีเมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวงราวพุทธศตวรรษที่ 16-17 ในช่วง พ.ศ.1843-พ.ศ.1893 เมื่องอู่ทองอยู่ภายใต้การปกครองของ[[อาณาจักรสุโขทัย]] แต่มีหลายความคิดเกี่ยวกับเมืองสุพรรณภูมิ เช่นต้นกำเนิดของ[[พระเจ้าอู่ทอง]] โปรดอ่านจาก [[ราชวงศ์สุพรรณภูมิ]] ยังคงมีความไม่ชัดเจนเรื่อง '''การปกครองแคว้นสุพรรณภูมิควบคู่ไปกับการปกครองอนาจักรสุโขทัย'''ในช่วงหลังการสถาปณากรุงศรีอยุธยา ภายหลังแคว้นสุพรรณภูมิได้ถูกลดความสำคัญลงเป็นหัวชั้นเมืองเอก(เมืองหน้าด่าน)เท่านั้น การปกครองจะมีการแต่งตั้งผู้ปกครองที่มีเชื่อสายราชวงศ์ทั้งทางสุโขทัยและอยุธยามาปกครองโดยมีตำแหน่ง "เจ้าเมืองอู่ทอง" ซึ่งเป็นศูนย์กลางการปกครองแคว้นสุพรรณภูมิสำหรับพระราชโอรสมักเรียกตามตำแหน่งสกุลยศว่า "ขุนหลวง" ในลักษณะคล้ายกับ[[เมืองพิษณุโลก|เมืองพิษณุโลกสองแคว]] และ [[ปกครองเมืองสรรค์]](แพรกศรีราชา) นอกจากนี้พระมหากษัติผู้คลองกรุงศรีอยุธยา ต้องทรงแต่งตั้งพระชายาผู้สืบเชื้อสายจากผู้คลองอาณาจักรสุพรรณภูมิในตำแหน่ง '''[[ท้าวอินทรสุเรนทร]]'''ด้วย
เส้น 16 ⟶ 15:
* '''[[สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1]]''' - มีพระนามเดิมว่า ขุนหลวงพะงั่ว ทรงเป็นพระเชษฐาของพระมเหสีใน[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] และได้ครองเมืองสุพรรณบุรี เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 เสด็จสวรรคต พระองค์ได้นำกำลังจากเมืองสุพรรณบุรีมาประชิดกรุงศรีอยุธยา [[สมเด็จพระราเมศวร]]ได้อัญเชิญพระองค์เข้าเมืองแล้วถวายพระราชสมบัติให้ พระองค์จึงเสด็จขึ้นครองราชสมบัติเมื่อปี [[พ.ศ. 1913]] เสด็จสวรรคตเมื่อปี [[พ.ศ. 1931]]
* '''[[สมเด็จพระอินทราชา]]''' - สมเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีศรีนครินทราธิราช หรือ สมเด็จพระนครินทราธิราช แต่นักประวัติศาสตร์บางท่านก็เชื่อว่าพระองค์คือ พระศรีเทพาหูราช
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}