ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bact (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{วิกิประเทศไทย}}
{{กล่องข้อมูล นักมวย
| ชื่อ = ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ<br> (Kongtoranee Payakaroon)
เส้น 20 ⟶ 21:
}}
 
'''ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ''' หรือนาย'''ชาติชาย ทิพย์ท่าไม้ ''' เป็นชาว[[จังหวัดฉะเชิงเทรา]] เป็นพี่ชายของ[[สามารถ พยัคฆ์อรุณ]]
 
ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ เกิดที่จังหวัดฉะเชิงเทรา แต่ไปโตที่[[จังหวัดชลบุรี]] ชีวิตคลุกคลีอยู่กับค่ายมวยมาตั้งแต่เด็ก เริ่มชกมวยกับพี่ชายที่ค่ายพยัคฆ์อรุณ จากนั้นจึงย้ายไปสังกัด ค่ายศักดิ์สายทองของ ชนะ สายทอง แต่ชกไต่อันดับจนเป็นดาวรุ่งของเวทีใหญ่ ของ[[อำเภอบางละมุง]] เมื่อ พ.ศ. 2518 มีโอกาสได้เข้ามาชกในกรุงเทพเป็นครั้งแรกที่ [[เวทีราชดำเนิน]] และชกกับยอดมวยไทยในยุคนั้น เช่น สำราญศักดิ์ เมืองสุรินทร์, อภิรักษ์
เส้น 26 ⟶ 27:
 
ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ สามารถพิชิตเข็ดขัดแชมป์ถึง 5 เส้น จาก 5 รุ่นของเวทีมวยลุมพินี ในรุ่น 102 ปอนด์, 108 ปอนด์, 112 ปอนด์,115 ปอนด์
และ 118 ปอนด์ และเป็นนักชกที่มีค่าตัวสูงที่สุด ถึง 120,000 บาท ในการชกกับ สมิงหนุ่ม สิทธิบุญธรรม ที่ เวทีมวยราชดำเนิน
 
ก้องธรณี เบนเข็มไปชกมวยสากลอาชีพ จนสามารถก้าวขึ้นชิงแชมป์โลก จาก กิลเบอร์โต้ โรมัน และ[[เขาทราย แกแล็คซี่]] แต่ไม่ประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะการชกกับเขาทราย ในต้นปี [[พ.ศ. 2531]] ก้องธรณีได้นับเขาทราย 1 ครั้ง และเป็นฝ่ายชกได้จะแจ้งมากกว่า แต่ก้องธรณีเป็นฝ่ายถอยหลัง ตีหัวเข้าบ้าน และเขาทรายเป็นฝ่ายรุกไล่ ชกโดนบ้างไม่โดนบ้าง เมื่อครบ 12 ยก กรรมการรวมคะแนนให้เขาทราย แกแล็คซี่เป็นฝ่ายชนะคะแนน ท่ามกลางการประท้วงของฝ่ายก้องธรณีและแฟนมวยที่เชียร์ก้องธรณี แต่ไม่เป็นผล หลังจากนั้นก้องธรณีหันกลับไปชกมวยไทยอีกครั้ง แต่สภาพร่างกายไม่เเข็งแรงเหมือนเดิมแล้ว จึงตัดสินใจแขวนนวมในปี พ.ศ. 2533 และเดินทางไปเป็นครูสอนศิลปะมวยไทยอยู่ใน[[ประเทศญี่ปุ่น]] นาน 2 ปี แล้วกลับมาเปิดค่ายมวยในประเทศไทย
ปัจจุบัน ก้องธรณี พยัคฆ์อรุณ เป็นเทรนเนอร์ ดูแลนักมวยใน[[ค่าย ศิษย์ยอดธง]] ของครู[[ยอดธง ศรีวราลักษณ์ ]]
 
==เกียรติประวัติ==