ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บาปกำเนิด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.1) (โรบอต เพิ่ม: ro:Păcat originar
อ่านไม่รู้เรื่อง
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ}}
[[ไฟล์:Varallo Sesia Sacro Monte di Varallo 004.JPG|350px|thumb|right|[[อีฟเอวา]]ชวน[[อาดัม]]ให้กินผลไม้จาก “[[ต้นไม้แห่งความรู้ในทางดีและชั่ว]]” ที่[[ภูเขาศักดิ์สิทธิ์]] ที่วาราลโลในประเทศอิตาลี]]
 
'''บาปกำเนิด'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 392</ref> ({{lang-en|Original sin}}) ตามความหมายทางหลัก[[เทววิทยาคริสเตียนศาสนาคริสต์]] “บาปกำเนิด” ที่เรียกว่า “บาปบรรพบุรษ” โดยผู้นับถือ[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]<ref>ในภาษากรีก: προπατορικὴ ἁμαρτία</ref> คือสถานะภาพสถานภาพความมีบาปของมนุษย์ซึ่งเป็นผลมาจาก[[การถูกการตกในบาป]]ของ[[อาดัม]]และ[[อีฟเอวา]]<ref name ="Oxford">Cross, F. L., ed. The Oxford dictionary of the Christian church. New York: Oxford University Press. 2005</ref> คำว่า “บาปกำเนิด” และ “บาปบรรพบุรษ” มิได้กล่าวถึงไม่ปรากฏใน[[คัมภีร์ไบเบิล]] แต่ความมีบาปโดยทั่วไปมักมีจะกล่าวถึงและพบในเอกสารที่อ้างเชื่อว่ามาจากเป็นจดหมายของนักบุญเปาโล ({{อิงไบเบิล|romans|โรม|5|12|21}} และ {{อิงไบเบิล|1_corinthians|1 โครินธ์|15|22}})
[[ไฟล์:Varallo Sesia Sacro Monte di Varallo 004.JPG|350px|thumb|right|[[อีฟ]]ชวน[[อาดัม]]ให้กินผลไม้จาก “[[ต้นไม้แห่งความรู้ในทางดีและชั่ว]]” ที่[[ภูเขาศักดิ์สิทธิ์]] ที่วาราลโลในประเทศอิตาลี]]
 
'''บาปกำเนิด'''<ref name="พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน">ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 392</ref> ({{lang-en|Original sin}}) ตามความหมายทาง[[เทววิทยาคริสเตียน]] “บาปกำเนิด” ที่เรียกว่า “บาปบรรพบุรษ” โดยผู้นับถือ[[นิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์]]<ref>ในภาษากรีก: προπατορικὴ ἁμαρτία</ref> คือสถานะภาพความมีบาปของมนุษย์ซึ่งเป็นผลมาจาก[[การถูกการตกในบาป]]ของ[[อาดัม]]และ[[อีฟ]]<ref name ="Oxford">Cross, F. L., ed. The Oxford dictionary of the Christian church. New York: Oxford University Press. 2005</ref> คำว่า “บาปกำเนิด” และ “บาปบรรพบุรษ” มิได้กล่าวถึงใน[[คัมภีร์ไบเบิล]] แต่ความมีบาปโดยทั่วไปมักมีจะกล่าวถึงและในเอกสารที่อ้างว่ามาจากจดหมายของนักบุญเปาโล ({{อิงไบเบิล|romans|โรม|5|12|21}} และ {{อิงไบเบิล|1_corinthians|1 โครินธ์|15|22}})
ทางประวัติศาสนาคริสต์ความสำคัญของบาปกำเนิดมีตั้งแต่เป็นสิ่งที่ไม่ค่อยสำคัญนักและเป็นเพืยงสิ่งบกพร่องเล็กๆ น้อยๆ เป็นบาปที่ไม่ต้องมีความรู้สึกเป็นส่วนรวมว่าเป็นความผิดของมนุษย์ทั้งหมด ที่บางที่เรียกว่า “ธรรมชาติของบาป” ไปจนถึงความมีบาปอันใหญ่หลวง หรือเป็นชนักบาปที่มวลมนุษย์ทุกคนมีส่วนร่วมในความรู้สึกผิดด้วยกัน (collective guilt)
 
พระศาสนจักร[[โรมันคาทอลิก]] ถือว่าสถานะภาพเมื่อมนุษย์เกิดมาจะมาพร้อมกับความมีบาปซึ่งต่างจากบาปของแต่ละคนที่จะมาสร้างภายหลังจากที่เกิดมาแล้ว ความคิดเห็นเรื่องความรับผิดชอบว่ามนุษย์ควรจะรับผิดชอบเฉพาะต่อบาปที่ตนเองก่อหรือจะต้องรู้สึกผิดต่อบาปที่เกิดจากการกระทำของบรรพบุรุษด้วยยังแตกต่างกันอยู่
 
ส่วนศาสนจักรตะวันออก (คือนิกายอีสเติร์นออร์โธด็อกซ์) ถือว่าบาปกำเนิดเป็นทั้งความตายทั้งทางการและทางใจ ความตายทางใจคือการสูญเสียในความกรุณาของพระเจ้า<ref>[http://www.pravoslavieto.com/docs/eng/Orthodox_Catechism_of_Philaret.htm Catechism of St. Philaret], questions 166, 167, 168</ref> และบางความเห็นก็ว่าบาปกำเนิดเป็นสาเหตุของบาปที่แท้จริง: “ไม้เสียออกผลเสีย” (a bad tree bears bad fruit)<ref>{{อิงไบเบิล|matthew|มัทธิว|7|17}}</ref> เหตุผลนี้ทำให้แยกระหว่างบาปกำเนิดกับบาปที่แท้จริงได้ยาก<ref>Johann Gerhard, <cite>Loci theologici</cite>, 5.17, quoted by Henri Blocher, <cite>Original Sin: Illuminating the Riddle</cite>, (Grand Rapids: William B. Eerdmans Publishing Company, 1997), 19.</ref>
 
ผู้นับถือศาสนาคริสต์อ้างหลักฐานบาปกำเนิดจาก[[พันธสัญญาเดิม]] (เช่นจาก {{อิงไบเบิล|psalm|เพลงสดุดี|51|5}}) แต่หลักการนี้ไม่พบในเทววิทยาของ[[ศาสนายูดาย]]
 
== อ้างอิง ==
เส้น 19 ⟶ 11:
* [[ศาสนาคริสต์]]
* [[การตกในบาป]]
* [[อาดัม]]และ[[อีฟเอวา]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==