ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แม่พระรับสาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: vi:Lễ Truyền Tin
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
<!-- อ้างอิงจากพระคัมภีร์ในเนื้อหา -->
{{ป้ายเตือนปีคศ}}
 
[[ไฟล์:Ohrid annunciation icon.jpg|thumb|250px|“แม่พระรับสาร” [[รูปเคารพ]]จากมาเซโดเนีย]]
 
'''แม่พระรับสาร'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 974-9588-33-9. หน้า 48.</ref> ({{lang-en|Annunciation, Annunciation of Mary, Annunciation of the Lady หรือ Annunciation of the Blessed Virgin Mary}}) หมายถึง การเหตุการณ์ที่ที่[[มารีย์ (มารดาของพระเยซู)|พระแม่มารีย์]]รับสารจาก[[ทูตสวรรค์]][[กาเบรียล]]ว่านางจะตั้งครรภ์บุตรที่เป็น[[พระเจ้าผู้เป็นภาคพระบุตร|พระบุตร]]ของ[[พระเจ้า]]
 
เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดเมื่อไร ไม่ทราบได้ แต่เมื่อมีการฉลองวันประสูติพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม ของทุกปี ก็มีผู้ริเริ่มจัดเทศกาลเลี้ยง (feast) เพื่อจัดการฉลองเหตุการณ์แม่พระรับสารนี้ขึ้นในวันที่ 25 มีนาคมของทุกปี เรียกว่า "วันแม่พระรับสาร" (Annunciation of the Lady's Day) โดยนับถอยหลังจากวันคริสต์มาสขึ้นไปเก้าเดือน<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 974-9588-33-9. หน้า 49.</ref>
 
นอกจากนี้ เหตุการณ์แม่พระรับสารเกิดที่ไหนก็ไม่มีใครทราบได้ ทว่าฝ่าย[[ออร์ทอดอกซ์]]เชื่อว่าเกิดที่เมือง[[นาซาเรธ]] [[ประเทศอิสราเอล]] ที่ "โบสถ์ออร์ทอดอกซ์แม่พระรับสาร" (Orthodox Church of the Annunciation) ส่วนฝ่าย[[โรมันคาทอลิก]]ก็เชื่อว่าเกิดที่เมืองนาซาเรธนั้น และเกิดที่ "โบสถ์แม่พระรับสาร" (Church of the Annunciation)
เส้น 41 ⟶ 39:
== เหตุการณ์แม่พระรับสารในศิลปะ ==
 
เหตุการณ์แม่พระรับสารเป็นหัวเรื่องที่วาดกันบ่อยที่สุดหัวข้อหนึ่งใน[[ศิลปะคริสต์ศาสนาคริสต์]]ทั้งทางคริสต์[[ศาสนาคริสต์ตะวันออก]]และ[[ศาสนาคริสต์ตะวันตก|ตะวันตก]]
 
ภาพหมวดนี้นิยมมาก โดยเฉพาะใน[[ยุคสมัยกลาง]]และ[[ยุคสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา|ศิลปะเรอเนซองส์]]โดยศิลปินเกือบทุกคนในสมัยนั้น เพราะเหตุการณ์แม่พระรับสารเป็นสัญลักษณ์ของความบริสุทธิ์และความสวยสง่า จึงเป็นหัวเรื่องที่นิยมสำหรับศิลปินหลายคน
 
การวางองค์ประกอบของรูปที่มีคนสองคนที่มักจะแต่งตัวอย่างสวยงามและอยู่คนละฝั่ง ทำให้เหมาะกับการจัดแบบ[[บานพับภาพ]] หรือบน[[หน้าบัน]] ในนิกายอีสเติร์นออร์โธดอกซ์รูปสัญลักษณ์มักจะอยู่เหนือประตูศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นประตูตกแต่งอยู่ระหว่างทางเดินกลางกับ[[สถานนมัสการ]] (sanctuary)
เส้น 52 ⟶ 50:
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[พระแม่มารีย์ (มารดาพระเยซู)]]
* [[พระเยซู]]
* [[ทูตสวรรค์]][[กาเบรียล]]
* [[สถาปัตยกรรมไบแซนไทน์]]
* [[สถาปัตยกรรมกอธิคทิก]]
* [[สถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา]]
 
เส้น 69 ⟶ 67:
ภาพ:Fra Angelico 043.jpg|“แม่พระรับสาร” โดย [[ฟราแอนเจลิโค]] (ราว ค.ศ. 1437-1446) , พิพิธภัณฑ์ซานมาร์โค, [[ฟลอเรนซ์]]
ภาพ:Gentile da Fabriano 079.jpg|“แม่พระรับสาร” โดยเจนทิลี ดา ฟาเบรียโน (Gentile da Fabriano) -ราว ค.ศ. 1425, โรม
ภาพ:Boucicaut-Meister.jpg|“แม่พระรับสาร”-[[หนังสือเอกสารตัวเขียนสีวิจิตร]]
ภาพ:Duomo Ghirlandaio Annunciation closeup.jpg|“แม่พระรับสาร” บน[[หน้าบัน]]ที่[[มหาวิหารฟลอเรนซ์]] โดย [[โดเม็นนิโค เกอร์แลนดาโอ]]
และ [[ดาวิเด เกอร์แลนดาโอ]]
เส้น 78 ⟶ 76:
{{เรียงลำดับ|รับสาร}}
 
[[หมวดหมู่:วันสำคัญทางศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:พระแม่มารีย์]]