ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะนามธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้การสะกด/ประโยคที่ไม่เกี่ยวข้องกับบทความนี้
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
พูดวนไปวนมา
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''ศิลปะนามธรรม''' (Abstract Art) คือศิลปะที่แสดงออกถึงจิตใจความรู้สึกของมนุษย์ การถ่ายทอดศิลปะจะแสดงออกมาเป็นสองหรือสามมิติ ภาพส่วนใหญ่จะไม่เป็นเรื่องราวที่มีความจริง อาจจะละทิ้งรูปทรงต่าง ๆ หรืออาจจะสร้างรูปทรงของภาพขึ้นมาใหม่ด้วย ความคิดของคนวาดเองศิลปะเหล่านี้ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัตายตัว ศิลปะเหล่านี้ถือว่าทำความเข้าใจยากกว่าศิลปะชนิดอื่น ๆ
 
สุนทรียภาพและรูปแบบประติมากรรมนามธรรม
บรรทัด 12:
 
ผู้ที่ริเริ่มศิลปะนามธรรมคือ [[วาสสิลี แคนดินสกี]] ชาวรัสเซีย เขากล่าวว่าความสำคัญของจิตกรรมอยู่ที่ความรู้สึกของสีและการจัดรูปทรง (Colour of Form)
สำหรับการถ่ายทอดออกมาเป็นศิลปะนั้นแคนดินสกีคำนึงถึงหลักสองอย่าง คือความรู้สึกภายนอกและความรู้สึกภายใน ความรู้สึกภายนอก คือ วัสดุรูปทรงและเมื่อรู้สึกต่อการเห็นรูปทรงดังกล่าวแล้ว ก็จะเกิดความรู้สึกภายในสำหรับคุณค่าของรูปทรงนั้น เป็นการสร้างความกลมกลืนขึ้นด้วยสีสัน การเคลื่อนไหว ลีลา จังหวะ ลักษณะผิว สัดส่วน และความเด่นชัดของภาพคุณค่าของความรู้สึก ถือเพื่อให้เกิดอารมณ์และความรู้สึกเองเมื่อได้สัมผัสสิ่งที่ไม่อาจชี้เฉพาะไปได้ว่าเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของศิลปะนามธรรมอะไร ไม่เหมือนกับศิลปะแบบโบราณจะดั้งเดิมที่บรรยายเฉพาะเจาะจงลงไป เช่น รูปผู้หญิง ต้นไม้ สัตว์ ผลไม้ ผู้ชาย และแม้แต่พระเจ้า ศิลปินผู้สร้างศิลปะนามธรรมไม่ต้องการสร้างรูปทรงที่ปรากฏให้ผู้ดูหลงติดเพียงแค่นั้น แต่ต้องการสร้างรูปทรงใหม่ โดยคำนึงถึงการจัดภาพ ลีลา จังหวะความสมดุล และความรู้สึก เพื่อให้เกิดอารมณ์และความรู้สึกเองเมื่อได้สัมผัสสิ่งที่ไม่อาจชี้เฉพาะไปได้ว่าเป็นอะไร
 
[[หมวดหมู่:ศิลปะ]]