ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
RedBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต แก้ไข: bg:Institute of Electrical and Electronics Engineers
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ข้อความสิ้นเปลืองและฟุ้งเฟ้อ
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
'''สถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์''' (Institute of Electrical and Electronics Engineers) หรือ '''IEEE''' (อ่านว่า "ไอ-ทริปเปิล-อีทริเพิลอี") เป็น[[สถาบันวิชาชีพ]] (professional organization) ระดับนานาชาติที่ไม่หวังผลกำไร ทำหน้าที่ดูแลเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับ[[ไฟฟ้า]]และ[[คอมพิวเตอร์]] โดย IEEE เป็นสถาบันวิชาชีพที่มีสมาชิกมากที่สุดในโลก (มากกว่า 360,000 คนใน 175 ประเทศ)
 
== ประวัติโดยย่อของ IEEE ==
IEEEสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์นานาชาติเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้วิทยาการใหม่ๆ (The Institute of Electrical and Electronics Engineers)ด้านอิเล็กทรอนิกส์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1963 ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการรวมตัวของ 2 สถาบัน คือ AIEE และ TRE ซึ่งดำเนินกิจกรรมวิจัยและพัฒนาศาสตร์ด้านการโทรคมนาคม ระบบแสง ไฟฟ้ากำลัง และอื่นๆมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884
สถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์นานาชาติ (IEEE) หรือ The Institute of Electrical and Electronics Engineers ที่มีศูนย์อำนวยการใหญ่อยู่ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนความรู้วิทยาการใหม่ๆ ด้านอิเล็กทรอนิกส์
IEEE (The Institute of Electrical and Electronics Engineers) ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1963 ในประเทศสหรัฐอเมริกา โดยการรวมตัวของ 2 สถาบัน คือ AIEE และ TRE ซึ่งดำเนินกิจกรรมวิจัยและพัฒนาศาสตร์ด้านการโทรคมนาคม ระบบแสง ไฟฟ้ากำลัง และอื่นๆมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1884
IEEE เป็นสถาบันที่กำกับดูแลมาตรฐานทางไฟฟ้า เป็นผู้นำในการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ รวมทั้งเผยแพร่ความรู้ ผลงานวิจัยในสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์ เน้นไฟฟ้ากำลัง คอมพิวเตอร์ โทรคมนาคม ระบบวัดคุม และอิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนเรื่อง Hi-Tech ทุกเรื่องที่เกี่ยวข้อง
IEEE มีสมาชิกเป็นวิศวกร นักวิจัย ที่มีความรู้ ความสามารถจากทั่วโลก โดยสมาชิกจะแบ่งกลุ่มศึกษาเรื่องตามความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของแต่ละบุคคล IEEE จึงมีกลุ่มศึกษาเรื่องเฉพาะด้าน หลายสิบกลุ่ม ทุกกลุ่มมีบทบาทในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ ทั้งจัดประชุมวิชาการประจำปี จัดประชุมวิชาเฉพาะเรื่อง กำหนดมาตรฐานทางไฟฟ้า คิดค้นนวัตกรรมและเขียนรายการเผยแพร่ในรูปวารสารวิชาการ องค์ความรู้ทั้งหมดได้ถูกรวบรวมเพื่อจัดเก็บอย่างมีระบบ และสามารถค้นคืน เพื่อการนำไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างรวดเร็ว นับเป็นสถาบันชั้นแนวหน้าของโลกด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างแท้จริง
 
 
สถาบัน IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers,USA) ซึ่งเป็นสถาบันวิชาชีพวิศวกรไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์นานาชาติ
ได้ประกาศให้ รศ. ดร.สิทธิชัย โภไคยอุดม อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานครเป็น IEEE Fellow ในสาขา Circuits and Systems
and Engineering Education. ในฐานะผู้มีผลงานวิจัย และวิชาการดีเด่นระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากมายแก่วงการวิศวกรไฟฟ้าของโลก
โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม 2549 นี้ ซึ่งนับแต่มีการมอบรางวัลนี้ " ท่านอธิการบดีเป็นคนไทยคนแรกและคนเดียว " ที่ได้รางวัลดังกล่าว...
 
"Congratulations on being elected fellow of the
IEEE 2006"
 
 
 
 
 
 
 
 
== ผลงานที่สำคัญ ==