ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลงประชามติแยกซูดานใต้เป็นเอกราช พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
Octahedron80 ย้ายหน้า การลงประชามติแยกซูดานใต้เป็นเอกราช พ.ศ. 2554 ไปยัง [[การลงประชามติแยกเซาท์ซูดา...
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''การลงประชามติแยกเซาท์ซูดานใต้เป็นเอกราช พ.ศ. 2554''' เกิดขึ้นใน[[เซาท์ซูดานใต้]] เมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2554 เพื่อแสวงหา[[มติมหาชน]]ว่า เซาท์ซูดานใต้ยังควรเป็นส่วนหนึ่งของ[[ประเทศซูดาน]]หรือไม่<ref>{{cite news|url=http://english.people.com.cn/90001/90777/90855/7172411.html |title=Sudan's Referendum Commission says southern Sudan referendum on Jan. 9 |publisher=People's Daily Online |date=2010-10-21 |accessdate=2011-01-05}}</ref><ref>[http://www.sudantribune.com/spip.php?article22813 Road to 2011 referendum is full of obstacles – South Sudan's Kiir] Sudan Tribune, 12 July 2007</ref> โดยสืบเนื่องมาจาก[[ความตกลงสันติภาพเบ็ดเสร็จ]]ระหว่างรัฐบาลกลาง[[คาร์ทูม]] และ[[กองทัพปลดปล่อยประชาชนซูดาน]] (SPLA/M)
 
== เบื้องหลัง ==
สิ่งที่ต้องมีก่อนการลงประชามติดังกล่าวรวมไปถึงการทำสำมะโนประชากร ซึ่งจะเป็นการกำหนดว่าการจัดสรรความมั่งคั่งและอำนาจทางการเมืองระหว่างภูมิภาคจะเป็นอย่างไร ด้วยเหตุนี้ การทำสำมะโนประชากรจะเป็นพื้นฐานของกระบวนการลงทะเบียนเลือกตั้ง ซึ่งจะเปิดโอกาสให้การเลือกตั้งทั่วไปใน พ.ศ. 2553 เกิดขึ้นได้ และเป็นการเตรียมการสำหรับการลงประชามติดังกล่าวด้วย ใน พ.ศ. 2551 การทำสำมะโนประชากรถูกเลื่อนเวลาออกไปถึงสามครั้ง ปัญหาที่พบรวมไปถึงความไม่ลงรอยระหว่างฝ่ายเหนือกับฝ่ายใต้ว่าข้อตกลงไนวาชาบังคับอย่างไร ซึ่งเป็นเหตุของความยากลำบากและความท้าทายด้านการขนส่งอย่างใหญ่หลวง ทางตอนใต้ สนามทุ่นระเบิดที่ยังหลงเหลือจากสงครามซึ่งไม่มีการทำแผนที่นั้น ทำให้การสัญจรเป็นไปด้วยความยากลำบาก ขณะที่ชาวซูดานมากถึงห้าล้านคนเป็นพวกเร่ร่อน ชาวซูดานที่ถูกบังคับให้ออกจากที่อยู่ภายใต้ประเทศจากทางตอนใต้ยังคังหลงเหลืออยู่ในค่ายรอบกรุงคาร์ทูมมากถึงสองล้านคน ทางตอนกลางของประเทศ ในขณะที่ผู้ลี้ภัยบางส่วนยังคงอาศัยอยู่ใน[[ยูกันดา]]และ[[เคนยา]] ความยุ่งยากยังมีขึ้นใน[[สงครามดาร์ฟูร์|ความขัดแย้งในดาร์ฟูร์]] ทางตะวันตก ที่ซึ่งพลเรือนที่หนีการโจมตีมาปฏิเสธที่จะมีส่วนในการทำสำมะโนประชากร ด้วยเกรงว่ารัฐบาลจะใช้ผลการสำรวจมาสร้างความเดือดร้อนแก่พวกเขา กลุ่มกบฏดาร์ฟูร์เต็มใจที่จะบอกเลิกการทำสำมะโนประชากรที่มีการเตรียมการไว้แล้ว ขณะที่กลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อความยุติธรรมและความเสมอภาคได้ขู่ว่าจะโจมตีผู้ที่ไปใช้สิทธิ์ลงประชามติ<ref>Henshaw, Amber, [http://news.bbc.co.uk/2/hi/africa/7359303.stm "Sudanese stand up to be counted"], ''[[BBC News]]'', 21 April 2008</ref>
 
นอกจากนี้ ยังมีความไม่ลงรอยระหว่างพรรคคองเกรสแห่งชาติ (NCP) และ SPLA/M ในประเด็นที่ว่าสัดส่วนของประชากรมากเท่าใดจึงจะนับว่าเพียงพอต่อการแยกตัวเป็นเอกราช (NCP ต้องการให้ผู้มีสิทธิ์อย่างน้อย 75% ลงประชามติยอมรับ) ตลอดจนประเด็นที่ว่าชาวเซาท์ซูดานใต้ที่อยู่ทางเหนือของประเทศควรจะได้รับอนุญาตให้ลงประชามติหรือไม่ และกระบวนการแยกประเทศภายหลังการลงประชามติ ตลอดจนการแบ่งหนี้สาธารณะ<ref>{{cite web|url=http://www.sudantribune.com/spip.php?article32187 |title=Sudan’s NCP & SPLM fail to agree on census, referendum law - Sudan Tribune: Plural news and views on Sudan |publisher=Sudan Tribune |date=2009-08-20 |accessdate=2011-01-05}}</ref> ได้มีกระบวนการอย่างเรียบร้อยเมื่อต้นเดือนกันยายน พ.ศ. 2553 แต่ความไม่ลงรอยกันในประเด็นสำคัญยังคงมีอยู่<ref>{{cite web|url=http://www.sudantribune.com/spip.php?article32327 |title=Sudan partners make modest progress on referendum talks - Sudan Tribune: Plural news and views on Sudan |publisher=Sudan Tribune |date=2009-09-03 |accessdate=2011-01-05}}</ref>
 
เดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 รัฐบาลกลางซูดานและรัฐบาลเซาท์ซูดานใต้ตกลงว่า ผลการลงประชามติแยกตัวเป็นเอกราชจะต้องได้รับการสนับสนุนอย่างน้อย 60% จากผู้มีสิทธิ์อย่างน้อย 3.8 ล้านคน จึงจะทำให้การลงประชามติดังกล่าวเป็นผลสมบูรณ์ หากผู้ลงประชามติเสียงข้างมากยอมรับการแยกตัวเป็นเอกราช แต่ไม่ถึง 60% เซาท์ซูดานใต้ก็จะแยกตัวออกเป็นดินแดนปกครองตนเอง<ref name = tribune>[http://www.sudantribune.com/spip.php?article33451 "Sudan referendum law endorsed in cabinet, 51% ‘Yes’ vote & 60% turnout required"], ''[[Sudan Tribune]]'', 2009-02-14.</ref><ref name = bbc>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/africa/8310928.stm "Terms for Sudan referendum agreed"], ''[[BBC News]]'', 2009-10-16.</ref> ซึ่งเป็นเงื่อนไขของความตกลงสันติภาพเบ็ดเสร็จด้วยเช่นกัน<ref name="preelection">[http://english.aljazeera.net/news/africa/2011/01/2011171839053529.html Bashir warns of unstable south - Africa - Al Jazeera English<!-- Bot generated title -->]</ref>
 
วันที่มีการเสนอให้จัดการลงประชามติดังกล่าว คือ 9 มกราคม พ.ศ. 2554 หากผู้มาลงประชามติไม่เพียงพอในการลงประชามติในครั้งแรก การลงประชามติครั้งที่สองจะถูกจัดขึ้นภายในหกสิบวัน<ref>{{cite web|url=http://www.sudantribune.com/spip.php?article32852 |title=Talks on South Sudan referendum progress in Khartoum - Sudan Tribune: Plural news and views on Sudan |publisher=Sudan Tribune |date=2009-10-21 |accessdate=2011-01-05}}</ref>
บรรทัด 12:
== การลงประชามติ ==
[[ไฟล์:Southern Sudanese independence referendum voting form 2011.svg|thumb|right|รูปแบบการลงคะแนนเสียงที่ใช้ในการลงประชามติ]]
การลงประชามติเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2554 สามวันหลังจากนั้น ตัวแทนของ SPLA/M ประกาศว่า ตามการประมาณการของพวกเขา จำนวนผู้ที่ลงประชามติเห็นควรแยกเซาท์ซูดานใต้เป็นเอกราช ได้ถึงระดับที่ทำให้ผลการลงประชามติมีผลแล้ว กล่าวคือ มากกว่าขั้นต่ำที่ร้อยละ 60 (จากจำนวนผู้มีสิทธิ์กว่า 2.3 ล้านคน) ได้มีการออกมายืนยันอย่างเป็นทางการในวันเดียวกัน เมื่อคณะกรรมการการลงประชามติได้ออกแถลงการณ์ซึ่งประกาศว่าผลการลงประชามติจะ "เกิน" ขั้นต่ำที่ต้องการมากกว่าร้อยละ 60 แล้ว<ref name="voa-jan12">{{cite news|url=http://www.voanews.com/english/news/africa/South-Sudan-Vote-Passes-60-Percent-Participation--113343384.html|title=Official: South Sudan Voter Turnout to Reach 60 Percent Threshold|date=2011-01-12|agency=VOA News|accessdate=2011-01-13}}</ref> [[จิมมี คาร์เตอร์]] แสดงความเชื่อของตนออกมาเมื่อวันที่ 13 มกราคมว่า การลงประชามติดังกล่าวค่อนข้างที่จะเป็นไปตามมาตรฐานสากลสำหรับทั้งการจัดการลงคะแนนเสียงและอิสรภาพของผู้มีสิทธิ์ลงคะแนน<ref name="voa-jan13">{{cite news|url=http://www.voanews.com/english/news/africa/east/Carter-South-Sudan-Vote-Will-Meet-Intl-Standards-113456214.html|title=Carter: South Sudan Vote Will Meet International Standards|date=2011-01-13|agency=VOA News|accessdate=2011-01-13}}</ref> [[สหประชาชาติ]] รายงานว่า ผลขั้นต้นคาดว่าจะมีภายในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ และผลขั้นสุดท้ายคาดว่าจะมีขึ้นภายในอีกสองสัปดาห์หลังจากนั้น<ref name="voa-jan12" /><ref name="yahoo-jan1211">{{cite web|url=http://news.yahoo.com/s/ap/20110112/ap_on_re_af/af_southern_sudan_referendum |title=Turnout in Southern Sudan vote passes 60 percent - Yahoo! News |publisher=News.yahoo.com |date=2011-01-12 |accessdate=2011-01-16}}</ref>
 
ตามผลการนับคะแนนเสียงขั้นต้นโดยแอสโซซิแอดเพรส ซึ่งประกอบด้วยหีบใส่บัตรลงคะแนน 30,000 หีบ ใน 10 เขตเลือกตั้ง ตัวอย่าง 95% มี 96% ที่เห็นด้วยกับการแยกตัวเป็นอิสระ 3% ยอมรับความเป็นเอกภาพ<ref>{{cite web|author=Post Store |url=http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2011/01/16/AR2011011600831.html |title=S.Sudan early returns show big vote for secession |publisher=Washingtonpost.com |date= |accessdate=2011-01-16}}</ref> และที่เหลือเป็นบัตรเสีย นายโมฮัมเหม็ด คาลิล อิบราฮิม ประธานคณะกรรมการลงประชามติ กล่าวว่า กว่าร้อยละ 83 ของจำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งทางใต้และร้อยละ 53 ทางตอนเหนือได้ออกมาใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียง<ref>{{cite web|url=http://english.aljazeera.net/news/africa/2011/01/2011116101436101586.html |title=Sudan vote trend points at split - Africa |publisher=Al Jazeera English |date= |accessdate=2011-01-16}}</ref> คณะกรรมการลงประชามติเซาท์ซูดานใต้ยืนยันการมีผลของคะแนนเสียงแล้ว แม้ว่าขณะนั้น การนับผลการลงประชามติจะยังทำไม่เสร็จสิ้นก็ตาม<ref>{{cite web|url=http://www.almanar.com.lb/newssite/NewsDetails.aspx?id=169520&language=en |title=Al-ManarTV:: US Vice President Lands in Afghanistan in Surprise Visit 10/01/2011 |publisher=Almanar.com.lb |date=2011-01-26 |accessdate=2011-01-31}}</ref>
 
เมื่อการนับผลการลงประชามติเสร็จสิ้น ซูดานได้ให้ปฏิญาณว่าจะยอมรับผล<ref>{{cite web|url=http://www.almanar.com.lb/newssite/NewsDetails.aspx?id=170242&language=en |title=Al-ManarTV:: South Sudan Referendum Wraps up, Khartoum Vows to Recognize Results 15/01/2011 |publisher=Almanar.com.lb |date=2011-01-15 |accessdate=2011-01-31}}</ref>
บรรทัด 49:
 
=== ชื่อประเทศใหม่ ===
ชื่อใหม่สำหรับประเทศที่ได้รับเอกราชนั้นยังคงอยู่ในระหว่างการเสนอแนะ โดยชื่อเซาท์ซูดานใต้นั้นได้รับเสียงวิพากษ์วิจารณ์เนื่องจากมันยังไม่แตกต่างจาก[[ประเทศซูดาน]]<ref>{{cite web|url=http://english.aljazeera.net/video/africa/2011/01/2011123125023126139.html |title=Southern Sudanese debate new name - Africa |publisher=Al Jazeera English |date=2011-01-23 |accessdate=2011-01-31}}</ref> มีชื่อได้รับการเสนอมากกว่า 12 ชื่อ ตัวอย่างเช่น สาธารณรัฐไนล์ สาธารณรัฐคุช และอซาเนีย<ref>http://www.nytimes.com/2011/01/24/world/africa/24sudan.html?_r=1 Retrieved 2011-1-31</ref>
 
== อ้างอิง ==