ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซลลูโลส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mlamella (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Cellulose strand.jpg|thumb|right|260px|สายโมเลกุลเซลลูโลส (conformation I<sub>α</sub>), เส้นประแสดง [[พันธะไฮโดรเจน]] ภายในและระหว่างโมเลกุล]]
 
'''เซลลูโลส''' ([[คาร์บอน|C]]<sub>6</sub>[[ไฮโดรเจน|H]]<sub>10</sub>[[ออกซิเจน|O]]<sub>5</sub>) <sub>n</sub> เป็น[[สารประกอบอินทรีย์]]ที่เกิดจาก[[กลูโคส]]ประมาณ 50,000 โมเลกุลมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว แต่ละสายของสายของเซลลูโลสเรียงขนานกันไป มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างสาย ทำให้มีลักษณะเป็นเส้นใย สะสมไว้ในพืช ไม่พบในเซลล์สัตว์ เซลล์ลูโลสไม่ละลายน้ำและร่างกายของมนุษย์ไม่สามารถย่อยสลายได้ แต่ใน[[กระเพาะ]]ของวัว ควาย ม้า และสัตว์ที่เท้ามีกีบ มี[[แบคทีเรีย]]ที่สามารถย่อยสลายเซลลูโลสให้เป็นกลูโคสได้ ถึงแม้ว่าร่างกายของมนุษย์จะย่อยเซลลูโลสไม่ได้ แต่เซลลูโลสจะช่วยในการกระตุ้น[[ลำไส้ใหญ่]]ให้เคลื่อนไหว เส้นใยบางชนิดสามารถดูดซับน้ำได้ดี จึงทำให้อุจจาระอ่อนนุ่ม ขับถ่ายง่าย ท้องไม่ผูก ลดโอกาสการการเกิด[[โรคริดสีดวงทวาร]] เซลลูโลสเมื่อถูกย่อยจะแตกตัวออก ให้น้ำตาลกลูโคสจำนวนมาก
 
== อ้างอิง ==