ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จำนวนฟีโบนัชชี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
หากเขียนให้อยู่ในรูปของสัญลักษณ์ ลำดับ ''F<sub>n</sub>'' ของจำนวนฟีโบนัชชีนิยามขึ้นด้วย[[ความสัมพันธ์เวียนเกิด]]ดังนี้
: <math>F_n = F_{n-1} + F_{n-2}\!</math>
โดยกำหนดค่าเริ่มแรกให้ <ref>Lucas p. 3</ref>
: <math>F_0 = 0;\; F_1 = 1</math>
 
บรรทัด 105:
 
จำนวนฟีโบนัชชีถูกใช้กำหนดความยาวของส่วนประกอบต่างๆ ของงานศิลปะ และถูกใช้ในการเทียบเสียงเครื่องดนตรี ผลงานเพลงที่มีความเกี่ยวข้องกับจำนวนฟีโบนัชชี ได้แก่ ''เพลงสำหรับเครื่องสาย เครื่องประกอบจังหวะ และซีเลสตา'' ของ [[เบลา บาท็อก]], และเพลง''[[แลเทอราทัส]]'' ของวง[[ทูล (วงดนตรี)|ทูล]] ซึ่งมีจำนวนพยางค์ในวรรคของเนื้อร้องเท่ากับจำนวนฟีโบนัชชี ("Black/Then/White are/All I see/In my infancy/Red and yellow then came to be")
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite book|title=Strange Curves, Counting Rabbits, and Other Mathematical Explorations|first=Keith M.|last=Ball
|publisher=[[Princeton University Press]]|year=2003
|chapter=Chapter 8: Fibonacci's Rabbits Revisited
|isbn=0691113211}}
* {{cite book |title=Théorie des nombres|first=Édouard|last=Lucas|publisher=Gauthier-Villars|year=1891|volume=1}}
{{จบอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:จำนวน]]