ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระบบเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่:วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์; ลบป้ายต้องการหมวดหมู่ออก ด้วยสจห.
Panyatham (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด ด้วยสคริปต์แมวๆ + ใส่วิกิลิงก์
บรรทัด 1:
'''ระบบเสียง''' หมายถึง การนำอุปกรณ์[[เครื่องเสียง]]ต่างๆมาต่อเชื่อมกันให้ทำงานอย่างเป็นระบบ จึงเป็นการรวบรวมอุปกรณ์เกี่ยวกับเสียงที่มีความสัมพันธ์กันมาจัดให้เกิดความสมดุลในการเชื่อมต่อเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด<ref>Bruce Borgerson (November 1, 2003). Sound & Video Contractor (Prism Business Media). http://svconline.com/mag/avinstall_pa_sr/index.html. Retrieved February 18, 2007.</ref>
{{ต้องการวิกิลิงก์}}
 
ระบบเสียง ถือเป็นระบบที่ต้องอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมศาตร์[[วิศวกรรมศาสตร์]]เกี่ยวกับเสียง มาประยุกต์ใช้ในการสร้างระบบเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านเสียงโดยเฉพาะ และ อาจมีการใช้งานร่วมกับระบบภาพและแสง และต้องมีการรวมระบบ เข้าด้วยกันเป็นระบบภาพและเสียง หรือที่ผู้ใช้สื่อเรียกว่า [[มัลติมีเดีย]] และ บางครั้งอาจรวมระบบควบคุมแสง เข้ามาด้วยโดยเรียกรวมกันว่า AVL
'''ระบบเสียง''' หมายถึง การนำอุปกรณ์เครื่องเสียงต่างๆมาต่อเชื่อมกันให้ทำงานอย่างเป็นระบบ จึงเป็นการรวบรวมอุปกรณ์เกี่ยวกับเสียงที่มีความสัมพันธ์กันมาจัดให้เกิดความสมดุลในการเชื่อมต่อเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด<ref>Bruce Borgerson (November 1, 2003). Sound & Video Contractor (Prism Business Media). http://svconline.com/mag/avinstall_pa_sr/index.html. Retrieved February 18, 2007.</ref>
 
ระบบขยายพลังเสียง เรียกกันอีกแบบว่าระบบ PA ซึ่งย่อมาจากคำว่า Puplic Address ประกอบไปด้วยอุปกรณ์หลักในระบบ คือ ภาครับสัญญาณเสียงขาเข้า (Audio signal inputs) จาก [[ไมโครโฟน]] เครื่องเล่นแผ่น [[CD]] และ แหล่งกำเนิดสัญญาณเสียงอื่นๆ มาผสมและปรับแต่งให้เข้ากันที่ Audio Mixer ซึ่งอาจรวมเครื่องประมวลสัญญาณเสียง อยู่ด้วยกัน หรือพ่วงต่อเพิ่มเติมเข้ามาในระบบ เมื่อได้สัญญาณเสียงที่รวมกันมาและปรับแต่งตามความต้องการแล้ว จึงส่งออกไปที่ภาคสัญญาณเสียงขาออก Audio Signal Outputs และนำสัญญาณเสียงไปขยายด้วยเครื่องขยายเสียง Amplifiers เพื่อขับ[[ลำโพง]] Loundspeakers ให้เปล่งเสียงตามที่ผู้ออกแบบระบบเสียงนั้นกำหนดพื้นที่การกระจายเสียงและคุณลักษณะของเสียงไว้<ref>Davis, Gary, and Ralph Jones. Sound Reinforcement Handbook. 2nd ed. Milwaukee: Hal Leonard Corporation, 1989: 4.</ref><ref>Eargle, John, and Chris Foreman. Audio Engineering for sound reinforcement. Milwaukee: Hal Leonard Corporation, 2002. 299</ref>
ระบบเสียง ถือเป็นระบบที่ต้องอาศัยความรู้ด้านวิศวกรรมศาตร์เกี่ยวกับเสียง มาประยุกต์ใช้ในการสร้างระบบเพื่อตอบสนองการใช้งานด้านเสียงโดยเฉพาะ และ อาจมีการใช้งานร่วมกับระบบภาพและแสง และต้องมีการรวมระบบ เข้าด้วยกันเป็นระบบภาพและเสียง หรือที่ผู้ใช้สื่อเรียกว่า มัลติมีเดีย และบางครั้งอาจรวมระบบควบคุมแสง เข้ามาด้วยโดยเรียกรวมกันว่า AVL
 
ระบบขยายพลังเสียง มีจุดประสงค์หลักคือให้คนได้ยินดังชัดเจนขึ้น หรือได้ยินเสียงโดยทั่วถึงกัน ทำให้เสียงดังขึ้นเพื่อเหตุผลด้านศิลป เพื่อให้คนสนใจหรือตื่นเต้นในพลังเสียงที่เหนือธรรมชาติ ทำให้คนสามารถได้ยินเสียงในบริเวณที่ต้องควบคุมจากระยะไกล คือ การส่งสัญญาณเสียงไปขยายให้คนในอีกพื้นที่หนึ่งได้ยินพร้อมกันกับพื้นที่กิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง
ระบบขยายพลังเสียง เรียกกันอีกแบบว่าระบบ PA ซึ่งย่อมาจากคำว่า Puplic Address ประกอบไปด้วยอุปกรณ์หลักในระบบ คือ ภาครับสัญญาณเสียงขาเข้า (Audio signal inputs) จาก ไมโครโฟน เครื่องเล่นแผ่น CD และแหล่งกำเนิดสัญญาณเสียงอื่นๆ มาผสมและปรับแต่งให้เข้ากันที่ Audio Mixer ซึ่งอาจรวมเครื่องประมวลสัญญาณเสียง อยู่ด้วยกัน หรือพ่วงต่อเพิ่มเติมเข้ามาในระบบ เมื่อได้สัญญาณเสียงที่รวมกันมาและปรับแต่งตามความต้องการแล้ว จึงส่งออกไปที่ภาคสัญญาณเสียงขาออก Audio Signal Outputs และนำสัญญาณเสียงไปขยายด้วยเครื่องขยายเสียง Amplifiers เพื่อขับลำโพง Loundspeakers ให้เปล่งเสียงตามที่ผู้ออกแบบระบบเสียงนั้นกำหนดพื้นที่การกระจายเสียงและคุณลักษณะของเสียงไว้<ref>Davis, Gary, and Ralph Jones. Sound Reinforcement Handbook. 2nd ed. Milwaukee: Hal Leonard Corporation, 1989: 4.</ref><ref>Eargle, John, and Chris Foreman. Audio Engineering for sound reinforcement. Milwaukee: Hal Leonard Corporation, 2002. 299</ref>
 
ระบบขยายพลังเสียง มีจุดประสงค์หลักคือให้คนได้ยินดังชัดเจนขึ้น หรือได้ยินเสียงโดยทั่วถึงกัน ทำให้เสียงดังขึ้นเพื่อเหตุผลด้านศิลป เพื่อให้คนสนใจหรือตื่นเต้นในพลังเสียงที่เหนือธรรมชาติ
ทำให้คนสามารถได้ยินเสียงในบริเวณที่ต้องควบคุมจากระยะไกล คือการส่งสัญญาณเสียงไปขยายให้คนในอีกพื้นที่หนึ่งได้ยินพร้อมกันกับพื้นที่กิจกรรมที่เกิดขึ้นจริง
 
== อ้างอิง ==