ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Liger (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "พรบ." → "พ.ร.บ." +แทนที่ "พ\.ร\.บ\. ?" → "พ.ร.บ. "ด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 2:
[[ภาพ:UP-UD-LA-AR-IA-Dec.jpg|thumb|แนวความคิดในการควบคุมวิชาชีพสถาปัตยกรรมแต่ละสาขา]]
 
'''ใบประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม''' หรือเดิม (ก่อน พรบ.ร.บ. สภาสถาปนิก 2543) เรียกย่อว่า '''ก.ส.''' เป็นเอกสารรับรองของ[[สถาปนิก]]ในการออกแบบและเซ็นรับรองแบบ ที่รับรองโดย[[สภาสถาปนิก]] ในปัจจุบันมีอยู่ 4 สาขาด้วยกันได้แก่ [[สถาปัตยกรรม|สถาปัตยกรรมหลัก]] [[สถาปัตยกรรมภายใน]]และ[[มัณฑนศิลป์]] [[ผังเมือง|สถาปัตยกรรมผังเมือง]] และ [[ภูมิสถาปัตยกรรม]] ใบประกอบวิชาชีพฯมี 4 ระดับเรียงจากสูงไปต่ำ คือ [[วุฒิสถาปนิก]] [[สามัญสถาปนิก]] [[ภาคีสถาปนิก]] และ [[สถาปนิกภาคีพิเศษ]]ขอบเขตงานที่ควบคุมในสาขาต่างๆ ถูกกำหนดไว้โดยในกฎกระทรวง (พ.ศ.2549)ว่าด้วยการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม
 
กฎกระทรวงการกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมนี้ ได้มีการกำหนดให้งานสถาปัตยกรรมควบคุมสาขาต่างๆ ทั้ง 4 สาขานั้น ผู้ดำเนินการงานออกแบบ ให้คำปรึกษา ตรวจสอบ ศึกษาโครงการ บริหารและอำนวยการก่อสร้าง ต้องเป็นสถาปนิก(แต่ละสาขา)ที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในระดับขั้นต่างๆกันไป ตามขอบเขตของงาน
บรรทัด 12:
* '''สาขาสถาปัตยกรรมภายใน และมัณฑนศิลป์''' - พื้นที่ภายในอาคารสาธารณะ 500 ตารางเมตรขึ้นไป
 
จะเห็นได้ว่าขอบเขตงานที่ต้องใช้สถาปนิกที่มีใบประกอบอนุญาตวิชาชีพจากกฎกระทรวงฯฉบับล่าสุดนั้นยังเป็นไปได้ยากในการปฏิบัติ เนื่องจากจำนวนสถาปนิกที่มีใบประกอบวิชาชีพมีไม่พอกับงานที่ต้องการควบคุม (จากข้อมูลปี 2548-49 นี้ โดยเฉพาะงานสถาปัตยกรรมผังเมือง มีผู้มีใบประกอบวิชาชีพ 8 คน, งานภูมิสถาปัตยกรรม มีภูมิสถาปนิกที่มีใบอนุญาตเพียง 80 คน เป็นต้น)ไม่มีหน่วยงานและบุคคลากรที่ทำการตรวจสอบและดูแลการบังคับใช้ และหลายๆงานไม่จำเป็นที่จะต้องมีสถาปนิกที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพก็คงไม่ทำความเสียหาย หรือในหลายกรณีเป็นขอบเขตของงานที่รัฐมีหน้าที่จัดทำ (ตาม พรบพ.ร.บ. หรือกฎหมายอยู่แล้ว) ซึ่งไม่จำเป็นต้องออกใบประกอบวิชาชีพแต่อย่างใด และตามเจตนารมย์ของการออกกฎกระทรวงนั้นมีวัตถุประสงค์ในการบังคับใช้กับสถาปนิกนอกระบบราชการเป็นสำคัญ ทำให้เกิดการร้องเรียนคัดค้านเกิดขึ้นจากผู้ประกอบวิชาชีพเอง นักวิชาการ และผู้เกี่ยวข้อง <ref>[http://www.bangkokbiznews.com/2006/08/18/news_21375886.php?news_id=21375886 ข่าวการคัดค้านของกลุ่มภูมิสถาปนิกต่อกฎกระทรวง จาก หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ 18 สค.49]</ref>, <ref>[http://www.land.arch.chula.ac.th/regulation.htm การคัดค้านกฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม 2549 ของกลุ่มภูมิสถาปนิกไทย]</ref>
 
ใบประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม มีลักษณะเหมือนกับใบประกอบวิชาชีพในสาขาอื่น ๆ เช่น [[ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรม]] และ ใบประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทย์ กล่าวคือผู้ที่ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพจะไม่สามารถประกอบวิชาชีพนั้น ๆ ได้ ถ้าฝ่าฝืนจะมีโทษตามที่องค์กรวิชาชีพแต่ล่ะองค์กรกำหนดไว้ ในกรณีของสถาปนิกนี้ มีบทลงโทษ ตามที่กำหนดไว้ใน พรบ.ร.บ. สถาปนิก (2543)<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00018695.PDF พรบ.ร.บ. สถาปนิก 2549]</ref> ว่าจะมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
 
== ดูเพิ่ม ==