ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักษรไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cartoonemon (คุย | ส่วนร่วม)
→‎วิวัฒนาการ: พราหมีเป็นกลุ่มอักษรใหญ่มาก อักษรมอญและเขมรก็อยู่ในกลุ่มนี้
Cartoonemon (คุย | ส่วนร่วม)
→‎วิวัฒนาการ: ภาษาไทยไม่ต้องผันรูปคำ ไม่ควรเขียนพราหมี
บรรทัด 23:
ราว พ.ศ. 400 ไทยได้อพยพจากถิ่นเดิมมาตั้งภูมิลำเนาอยู่ใกล้อาณาเขต[[มอญ]] ซึ่งกำลังเป็นชาติที่เจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้น เริ่มแรกคงเริ่มเลียนแบบตัวอักษรมาจากมอญ ต่อมาราว พ.ศ. 1500 เมื่อ[[ขอม]]ขยายอำนาจเข้ามาในดินแดนของคนไทยซึ่งตั้งอยู่บริเวณริม[[แม่น้ำยม]] และได้ปกครองเมือง[[เชลียง]]และเมือง[[สุโขทัย]] ไทยก็เริ่มดัดแปลงอักษรที่มีอยู่เดิมให้คล้ายกับ[[อักษรขอมหวัด]]
 
อักษรมอญและอักษรขอมที่เรานำมาดัดแปลงใช้นั้นล้วนแปลงรูปมาจากอักษรในกลุ่ม[[อักษรพราหมีพราหมณ์]] ของพวกพราหมณ์ ซึ่งรับแบบมาจาก[[อักษรฟินิเชีย]]อีกชั้นหนึ่ง อักษรเฟนีเซียนับได้ว่าเป็นอักษรที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นแม่แบบตัวอักษรของชาติต่างๆ ทั้งในเอเชียและยุโรป
 
ราว พ.ศ. 1826 [[พ่อขุนรามคำแหงมหาราช]]ทรงประดิษฐ์อักษรไทยที่เรียกกันว่า "ลายสือไทย" ขึ้น ซึ่งได้เค้ารูปจากอักษรอินเดียฝ่ายใต้ รวมทั้งอักษรมอญและเขมรที่มีอยู่เดิม (ซึ่งต่างก็ถ่ายแบบมาจากอักษรอินเดียฝ่ายใต้ทั้งสิ้น) ทำให้อักษรไทยมีลักษณะคล้ายคลึงกับอักษรทั้งสาม แม้บางตัวจะไม่คล้ายกัน แต่ก็สามารถรู้ได้ว่าดัดแปลงมาจากอักษรตัวไหน