ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลตำบลไพรบึง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
KB (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 49:
=== ประชากรและกลุ่มชาติพันธุ์ ===
ในเขตเทศบาลประกอบด้วยประชากร จำนวนทั้งสิ้น 10,705 คน จำแนกเป็นเพศชาย จำนวน 5,351 คน, เพศหญิง จำนวน 5,354 คน <ref> ข้อมูลเทศบาลตำบลไพรบึง ณ วันที่ 20 มิถุนายน 2554 รวบรวมโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย เข้าถึงออนไลน์ทาง http://www.thailocaladmin.go.th/work/apt/apt.jsp </ref> มีจำนวนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งทั้งสิ้น 7,593 คน มีบ้านเรือนท้งหมดจำนวน 2,376 หลังคาเรือน <ref> ข้อมูลพื้นฐานเทศบาลตำบลไพรบึง จากเว็บไซต์เทศบาลตำบลไพรบึง เข้าถึงออนไลน์ทาง http://www.phraibueng.com/?name=page&file=page&op=data </ref>
กลุ่มชาติพันธุ์ในเขตเทศบาลประกอบด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ซึ่งมีทั้งชาวไทยเชื้อสาย[[ลาว]]ซึ่งพูดภาษาลาว ชาวไทยเชื้อสาย[[เขมร]]ซึ่งพูดภาษาเขมรสูงหรือขแมร์เลอ ชาวไทยเชื้อสาย[[กูย]] (หรือ[[กวย]]หรือ[[ส่วย]]) ชาวไทยเชื้อสาย[[เยอ]]ซึ่งพูดภาษากูยเยอ <ref> กรมศิลปากร,'''วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ''', หนังสือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ. (ปรุงศรี วัลลิโภดม : บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2544.</ref> กลุ่มชาติพันธุ์เหล่านี้ถือเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ มักประกอบอาชีพหลักด้านการเกษตร นอกจากนั้น ยังมีชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งพูดทั้งภาษาจีน ภาษาไทยลาวหรือไทยอีสานและเขมรสูงหรือขแมร์เลอ จัดเป็นประชากรส่วนรองซึ่งเป็นกลุ่มหลักที่เป็นนักลงทุนและเจ้าของธุรกิจค้าปลีกและการบริการ
 
=== เขตการปกครอง ===
ภายในพื้นที่เทศบาลจำแนกเป็น 22 ชุมชน ได้แก่ชุมชนหมู่ต่างๆในบางส่วนของตำบลไพรบึงและตำบลสำโรงพลันซึ่งไม่นับรวมเป็นเขตองค์การบริหารส่วนตำบลไพรบึงและเขตองค์การบริหารส่วนตำบลสำโรงพลัน [[ไฟล์:LivingareainPhraiBueng.JPG|thumb|250px|ย่านที่พักอาศัยในเขตชุมชนเทศบาลไพรบึง]]
 
== โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ==
=== สภาพเศรษฐกิจ ===
พื้นที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของหน่วยงานและศูนย์บริการสาธารณูปโภคด้านต่างๆ ดังนี้
สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจของอำเภอไพรบึง มีพื้นฐานหลักจากกิจกรรมทางการเกษตร และการพาณิชยกรรมด้านการค้าปลีก การบริการประเภทต่างๆ โดยด้านการเกษตรกรรมนั้นเป็นผลมาจากสภาพภูมิประเทศมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดทั้งพืชและสัตว์ในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นผลิตผลที่ยังไม่ผ่านการแปรรูปและที่ผ่านการแปรรูปแล้ว ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว พืชสวนและพืชไร่ สัตว์เลี้ยง ขณะที่ธุรกิจค้าปลีกและบริการประเภทต่างๆ ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร สินค้าอุปโภค บริโภค อุปกรณ์ก่อสร้าง และอุตสาหกรรม บริการต่างๆ ด้วยเหตุที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการและธุรกิจดังกล่าวของอำเภอ จึงส่งผลให้เขตเทศบาลเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของอำเภอด้วยเช่นกัน
{|
นอกเหนือจากตลาดสดเทศบาลตำบลไพรบึงและย่านศูนย์รวมกิจการค้าปลีกและการบริการแล้ว ในเขตเทศบาลยังเป็นที่ตั้งของสหกรณ์การเกษตรและตลาดกลางรับซื้อข้าวเปลือก ตลอดจนผลิตผลทางการเกษตรของอำเภอไพรบึงด้วย
|--- valign=top
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (5).JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (4).jpg|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:เขตเทศบาลไพรบึง.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|}
 
=== การคมนาคมและขนส่ง ===
* เขตเทศบาลตำบลไพรบึงถือเป็นศูนย์กลางการเดินทางและการคมนาคมขนส่งของอำเภอ โดยมีเส้นทางหลักคือ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2111]] (พยุห์-ขุนหาญ) ซึ่งเป็นเส้นทางสำคัญที่เชื่อมโยงการเดินทางไปยังจุดสำคัญในทิศทางต่างๆ ดังนี้
** ทางทิศเหนือ เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอพยุห์ ด้วยระยะทาง 20 กิโลเมตร และจากอำเภอพยุห์เชื่อมต่อไปยังอำเภอเมืองศรีสะเกษ ด้วยทาง[[หลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข]] [[221]] อีก 20 กิโลเมตร รวมเป็นระยะทางจากเขตเทศบาลไพรบึงถึงตัวเมืองจังหวัดศรีสะเกษทั้งสิ้น 42 กิโลเมตร(รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ)[[ไฟล์:บัสขุนหาญไพรบึงศรีสะเกษ.jpg|thumb|250px|รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ]]
** ทางทิศใต้ เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอขุนหาญ ด้วยระยะทาง 20 กิโลเมตร (รถโดยสารประจำทางสายขุนหาญ-ไพรบึง-ศรีสะเกษ)
นอกจากนั้น บริเวณสี่แยกหัวช้าง ในเขตบ้านหัวช้าง ตำบลสำโรงพลัน ของอำเภอไพรบึง ซึ่งห่างจากเขตเทศบาลไพรบึงไปทางทิศใต้ประมาณ 4 กิโลเมตร ถือเป็นชุมทางการคมนาคมและการขนส่งขนาดใหญ่อีกจุดหนึ่ง เนื่องจากเป็นจุดตัดกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 24]] (ถนนโชคชัย-เดชอุดม) ชุมทางแห่งนี้มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการพักรถและพักผ่อนสำหรับผู้เดินทาง ซึ่งประกอบด้วยสถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดใหญ่จำนวน 3 แห่ง ร้านอาหารและร้านสะดวกซื้อ ตลอดจนป้อมตำรวจหน่วยบริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรไพรบึง
จากชุมทางดังกล่าวด้านตะวันออกเป็นเส้นทางเชื่อมโยงไปยัง อำเภอกันทรลักษ์ และจังหวัดอุบลราชธานี , ด้านทิศใต้ไปยังอำเภอขุนหาญ, ด้านทิศตะวันตกไปยังอำเภอขุขันธ์ และอำเภอภูสิงห์ ตลอดจนอำเภอต่างๆของ[[จังหวัดสุรินทร์]] ([[อำเภอสังขะ]] [[อำเภอปราสาท]]) [[จังหวัดบุรีรัมย์]] ([[อำเภอเฉลิมพระเกียรติ]] [[อำเภอประโคนชัย]] [[อำเภอนางรอง]] [[อำเภอหนองกี่]]) และ[[จังหวัดนครราชสีมา]] ([[อำเภอหนองบุญมาก]] [[อำเภอโชคชัย]] [[อำเภอปักธงชัย]] [[อำเภอสีคิ้ว]]) แล้วบรรจบกับ[[ทางหลวงแผ่นดิน]][[หมายเลข 2]] ([[ถนนมิตรภาพ]])
** ทางทิศตะวันออก เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอศรีรัตนะ โดย[[ทางหลวงชนบท]] หมายเลข ศก 4014 และ 3014 ระยะทาง 30 กิโลเมตร
** ทางทิศตะวันตก เชื่อมโยงการเดินทางสู่อำเภอขุขันธ์ โดยทางหลวงชนบท ระยะทาง 36 กิโลเมตร [[ไฟล์:ตลาดสดไพรบึง.JPG|thumb|250px|ตลาดสดเทศบาลไพรบึง]]
* ถนนในความรับผิดชอบของเทศบาล
** ถนนลาดยาง จำนวน 2 สาย ระยะทางรวม 4 กิโลเมตร
** ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก (ค.ส.ล.) จำนวน 24 สาย ระยะทางรวม 15.85 กิโลเมตร
** ถนนทางหลวงแผ่นดิน ที่โอนให้เทศบาลดูแล พื้นผิวลาดยาง6 ช่องจราจร จำนวน 1 สาย ระยะทางรวม 3 กิโลเมตร
** ถนนทางหลวงชนบท ที่โอนให้เทศบาลดูแล จำนวน 3 สาย
* ที่ทำการหมวดการทางไพรบึง (กรมทางหลวง)
 
=== ระบบโทรคมนาคมและการสื่อสาร ===
* ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขไพรบึง (33180)
* ชุมสายโทรศัพท์และโทรคมนาคมไพรบึง (บริษัท ทีโอที จำกัด และการสื่อสารแห่งประเทศไทย)
* ผู้ใช้บริการเช่าเลขหมายโทรศัพท์พื้นฐานในเขตเทศบาล 400 เลขหมาย
* ตู้โทรศัพท์สาธารณะ 22 แห่ง
* เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ ความถี่ 800/900/1800 (AIS, CAT, DTAC, TRUE)
* สถานที่ให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งของรัฐและเอกชน 7 แห่ง
 
=== พลังงานไฟฟ้า ===
* สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอไพรบึง
* ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ในเขตเทศบาล ร้อยละ 100
* ระบบไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่สาธารณะ
 
=== การประปาและแหล่งน้ำ ===
* สำนักงานการประปาเทศบาลตำบลไพรบึง
** สถานีสูบน้ำ
** โรงกรองน้ำ
** ระบบจ่ายน้ำ
** แหล่งน้ำดิบเพื่อการผลิตน้ำประปา 1 แห่ง
 
== โครงสร้างทางสังคม ==
=== การศึกษา ===
สถานศึกษาซึ่งตั้งอยู่ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงได้แก่
* ศูนย์อนุบาลและพัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน
* โรงเรียนประถมศึกษา
** [[โรงเรียนอนุบาลไพรบึง]] โรงเรียนประถมศึกษาประจำอำเภอไพรบึง
เส้น 75 ⟶ 109:
 
* โรงเรียนมัธยมศึกษา
** [http://www.pbk-school.com/ โรงเรียนไพรบึงวิทยาคม] โรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอไพรบึง
** [[โรงเรียนวัดไพรบึงวิทยา]]
** [[โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดไพรบึง]]
 
* ศูนย์การศึกษานอกระบบและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
** [[ห้องสมุดประชาชน]]อำเภอไพรบึง
** ศูนย์บริการคอมพิวเตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
=== การศาสนา คติความเชื่อและประเพณีพิธีกรรมวัฒนธรรมท้องถิ่น ===
ประชากรส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลตำบลไพรบึงล้วนเป็นพุทธศาสนิกชน* ภายในเขตเทศบาลจึงมีวัดในพุทธศาสนา อันเป็นศาสนสถานและฌาปนสถานสำหรับการประกอบศาสนพิธี ซึ่งได้แก่4 แห่ง
** วัดไพรบึง (วัดจำปาสุรภี)
** วัดจังกระดาน
** วัดสำโรงพลัน
** วัดสวาย
* ศาลเจ้าปู่ตาซึ่งเป็นศาลผีประจำชุมชนตั้งอยู่ตามชุมชนต่างๆ เช่น ศาลผีอารักษ์หนองปิด
* เทศกาลและงานประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ
** ประเพณีสงกรานต์ ช่วงวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี
** ประเพณีบุญบ้องไฟ ในช่วงเดือน 6 ของทุกปี
** ประเพณีเข้าพรรษา ใน แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี
** ประเพณีแซนโฎนตา หรือประเพณีการทำบุญวันสารทของกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเขมร จัดในวัน ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 10 ของทุกปี
** ประเพณีลอยกระทง ในวัน ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ของทุกปี ณ สวนสาธารณะ[[บึงนกเป็ดน้ำไพรบึง]](หนองใหญ่) และสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ(หนองปิด)
 
=== การแพทย์ พยาบาลและสาธารณสุข ===
นอกจากนี้ ยังมีศาลเจ้าปู่ตาซึ่งเป็นศาลผีประจำชุมชนตั้งอยู่ตามชุมชนต่างๆ เช่น ศาลผีอารักษ์หนองปิด
 
=== โครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค ===
พื้นที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของหน่วยงานและศูนย์บริการสาธารณูปโภคด้านต่างๆ ดังนี้
{|
|--- valign=top
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (5).JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก (4).jpg|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:ทต ไพรบึง ถนนสายหลัก.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|| <center> [[ไฟล์:เขตเทศบาลไพรบึง.JPG|thumb|220px|ถนนสายหลักเข้าสู่เขตเทศบาลตำบลไพรบึง]] </center>
|}
* โรงพยาบาล 1 แห่ง คือ[http://www.praibuenghospital.com/online/ โรงพยาบาลไพรบึง] (โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง)
** แพทย์ 4 คน
** ทันตแพทย์ 2 คน
** เภษัชกร 3 คน
** พยาบาลวิชาชีพ
** พยาบาลเทคนิค
** เจ้าพนักงานสาธารณสุข
** หอผู้ป่วย 3 หลัง
** ตึกสงฆ์อาพาธ 1 หลัง
** หอพักญาติผู้ป่วย 1 หลัง
** ศูนย์บริการแพทย์แผนไทย
* [http://www.pribungsso.org/ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอไพรบึง]
* คลินิก-สถานพยาบาลและผดุงครรภ์เอกชนการแพทย์แผนปัจจุบัน 24 แห่ง
 
* สำนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอไพรบึง
=== ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ===
* ที่ทำการไปรษณีย์ไพรบึง (บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด)
* ชุมสายโทรศัพท์และโทรคมนาคมไพรบึง (บริษัท ทีโอที จำกัด และการสื่อสารแห่งประเทศไทย)
* เสาส่งสัญญาณโทรศัพท์เคลื่อนที่ (AIS, CAT, DTAC, TRUE)
* ที่ทำการหมวดการทางไพรบึง (กรมทางหลวง)
* ตลาดสดเทศบาลตำบลไพรบึง 1 แห่ง
* สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง 2 แห่ง และจุดบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดเล็ก 5 แห่ง
* ธนาคาร 1 แห่ง ([[ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร]] สาขาไพรบึง)
* สถานีตำรวจภูธรไพรบึง
* สถานีดับเพลิงและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลตำบลไพรบึง
** รถยนต์ดับเพลิงขนาดความจุ 4,000 ลิตร 1 คัน
* สำนักงานการประปาเทศบาลตำบลไพรบึง (สถานีสูบน้ำ,โรงกรองน้ำ,ระบบจ่ายน้ำ)
** กระเช้าดับเพลิง
** เครื่องดับเพลิงชนิดหาบหาม ติดตั้งตามสถานที่ชุมชน
** รถบรรทุกน้ำขนาดความจุ 10,000 ลิตร 1 คัน
** พนักงานขับรถดับเพลิง 2 คน
** พนักงานดับเพลิง 3 คน
** เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2 คน
* กองร้อย อส.จังหวัดศรีสะเกษ ที่ 10 (อำเภอไพรบึง)
 
=== การดูแลสิ่งแวดล้อมและสุขอนามัยชุมชน ===
* รถเก็บขยะ
* พนักงานขับรถเก็บขยะ
* พนักงานประจำรถเก็บขยะ
* ถังขยะสาธารณะในที่ชุมชน
* พื้นที่ทิ้งและกำจัดขยะมูลฝอย
 
=== การกีฬาและสันทนาการ ===
* สวนสาธารณะ 2 แห่ง
# สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติหนองปิด
เส้น 127 ⟶ 178:
# ลานกีฬาที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลไพรบึง (สนามบาสเก็ตบอล, สนามวอลเลย์บอล, สนามเซปักตะกร้อ, สนามเปตอง)
นอกจากนี้ ประชากรในเขตเทศบาลยังนิยมวิ่งออกกำลังกายรอบสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ(หนองปิด)และสวนสาธารณะหนองใหญ่หรือ
 
 
== โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ==
=== สภาพพื้นฐานหลักทางเศรษฐกิจ ===
สภาพทั่วไปทางเศรษฐกิจของอำเภอไพรบึง มีพื้นฐานหลักจากการเกษตรกรรม การพาณิชยกรรมด้านการค้าปลีก และการบริการประเภทต่างๆ โดยด้านการเกษตรกรรมนั้นเป็นผลมาจากสภาพภูมิประเทศมีความอุดมสมบูรณ์ จึงมีผลผลิตทางการเกษตรออกสู่ตลาดทั้งพืชและสัตว์ในรูปแบบต่างๆไม่ว่าจะเป็นผลิตผลที่ยังไม่ผ่านการแปรรูปและที่ผ่านการแปรรูปแล้ว ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่สำคัญได้แก่ ข้าว พืชสวนและพืชไร่ สัตว์เลี้ยง ขณะที่ธุรกิจค้าปลีกและบริการประเภทต่างๆ ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหาร สินค้าอุปโภค บริโภค อุปกรณ์ก่อสร้าง และอุตสาหกรรม บริการต่างๆ ด้วยเหตุที่เขตเทศบาลตำบลไพรบึงเป็นที่ตั้งของศูนย์ราชการและธุรกิจดังกล่าวของอำเภอ จึงส่งผลให้เขตเทศบาลเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจของอำเภอด้วยเช่นกัน
นอกเหนือจากตลาดสดเทศบาลตำบลไพรบึงและย่านศูนย์รวมกิจการค้าปลีกและการบริการแล้ว ในเขตเทศบาลยังเป็นที่ตั้งของสหกรณ์การเกษตรและตลาดกลางรับซื้อข้าวเปลือก ตลอดจนผลิตผลทางการเกษตรของอำเภอไพรบึงด้วย
 
=== หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาล ===
* สถานประกอบการประเภทพาณิชยกรรม
** ตลาดสดเทศบาลตำบลไพรบึง 1 แห่ง
** ศูนย์จำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน เทศบาลตำบลไพรบึง 1 แห่ง
** สาขาของธุรกิจห้างสรรพสินค้าและซุปเปอร์มาร์เก็ต
** สถานบริการทางการแพทย์ พยาบาลและผดุงครรภ์แผนปัจจุบัน 4 แห่ง
** ร้านตัดเย็บเสื้อผ้า
** ร้านเสริมสวยและแต่งผม
** ร้านบริการนวดและสปาบำบัด
** ร้านจำหน่ายและซ่อมอุปกรณ์เครื่องเหล็กเครื่องยนต์
** ร้านจำหน่ายและซ่อมอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือ
** ร้านจำหน่าย รับซ่อมอุปกรณ์คอมพิวเตอร์และบริการอินเตอร์เน็ต
** ร้านจำหน่ายและรับซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
** ร้านจำหน่ายอุปกรณ์และวัสดุก่อสร้าง
** ร้านรับซื้อวัสดุและของเก่า
** ร้านขายสินค้าปลีก-ส่ง
** ร้านจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม ตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข
** สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง 3 แห่ง และจุดบริการน้ำมันเชื้อเพลิงขนาดเล็ก 5 แห่ง
** ตลาดรับซื้อข้าวเปลือก 3 แห่ง
* สถานประกอบการประเภทอุตสาหกรรม
** โรงซ่อมสร้างเครื่องยนต์
** โรงสีข้าว
* สถานประกอบการประเภทบริการธุรกรรมทางการเงิน
** [[ธนาคาร]]พาณิชย์ของรัฐบาล 1 แห่ง([[ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร]] สาขาไพรบึง)
** [[ธนาคาร]]พาณิชย์ของเอกชน 1 แห่ง([[ธนาคารกสิกรไทย]] สาขาไพรบึง)
 
== สถานที่น่าสนใจ ==
เส้น 134 ⟶ 217:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* กรมศิลปากร,'''วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดศรีสะเกษ''', หนังสือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ. (ปรุงศรี วัลลิโภดม : บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว,2544.
* เทศบาลตำบลไพรบึง.'''รายงานสรุป ประจำปีงบประมาณ 2553'''.จัดทำโดยเทศบาลตำบลไพรบึง