ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์''' ({{lang-en|Corpuscularianism}}) คือทฤษฎีทางฟิสิกส์ที...
 
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ลัทธินิยมคอร์พัสคิวลาร์''' ({{lang-en|Corpuscularianism}}) คือทฤษฎีทางฟิสิกส์ที่เชื่อว่าสสารทุกชนิดประกอบขึ้นด้วยอนุภาคขนาดเล็กๆ ซึ่งกลายเป็นทฤษฎีที่มีบทบาทสำคัญในคริสต์ศตวรรษที่ 17 นักวิทยาศาสตร์ผู้นิยมลัทธิคอร์พัสคิวลาร์รวมไปถึง [[เรอเน เดส์การ์ตส์]], [[โรเบิร์ต บอยล์]], และ [[จอห์น ล็อก]]<ref name="Brown2005">{{cite book|last=Brown|first=Sable|title=Philosophy|url=http://books.google.com/books?id=mOUoXWBavKUC&pg=PA53|accessdate=8 June 2010|date=2005-01-01|publisher=Lotus Press|isbn=9788189093525|pages=53–}}</ref>
 
แนวคิดคอร์พัสคิวลาร์นิยมนี้คล้ายคลึงกับทฤษฎีอะตอมนิยม (atomism) เว้นแต่เพียงว่า แนวคิดอะตอมนิยมบอกว่าอะตอมนั้นแบ่งแยกไม่ได้อีกแล้ว แต่คอร์พัสเคิลยังสามารถแบ่งย่อยลงไปได้อีก ยกตัวอย่างเช่น ความเชื่อในทางทฤษฎีว่าการใส่ปรอทเข้าไปในเหล็กจะสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายใน ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งในการเปลี่ยนโลหะให้กลายเป็นทองคำได้ ผู้ที่นิยมแนวคิดนี้มีความเชื่อว่าคุณสมบัติบางอย่างของวัตถุนั้นเป็นผลลัพธ์ที่สร้างขึ้นมาจากความคิดจิตใจ เป็นคุณสมบัติ "อันดับที่สอง" ที่แยกออกมาจากคุณสมบัติ "พื้นฐาน" ของวัตถุ<ref>[http://www.vernonpratt.com/conceptualisations/d06bl2_1mechanical.htm The Mechanical Philosophy] - Early modern 'atomism' ("corpuscularianism" as it was known)</ref> แนวคิดคอร์พัสคิวลาร์นิยมดำรงอยู่เป็นทฤษฎีกระแสหลักตลอดเวลาหลายศตวรรษ ต่อมาถูกควบรวมเข้ากับศาสตร์ใน[[การเล่นแร่แปรธาตุ]] (Alchemy) โดยนักวิทยาศาสตร์ยุคแรกๆ เช่น [[โรเบิร์ต บอยล์]] และ [[ไอแซก นิวตัน]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 17
 
== ดูเพิ่ม ==