ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธงชาติลัตเวีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
ธงสีแดง-ขาว-แดง ซึ่งเป็นธงชาติลัตเวียนี้ มีการอ้างถึงครั้งแรกในหนังสือ ''Livländische Reimchronik'' (กลอนพงศาวดารแห่งลิโวเนีย) ซึ่งแต่งโดย Ditleb von Alnpeke เนื้อหากล่าวถึงเหตุการณ์ในลิโวเนีย (ปัจจุบันคือ[[ประเทศลัตเวีย]]และ[[เอสโตเนีย]]) ในช่วงปี พ.ศ. 1723 – 1833 ในหลักฐานดังกล่าวได้เล่าไว้ว่า ในช่วงปี พ.ศ. 1823 กองทัพชนเผ่าลัตเวียโบราณจากเมืองเซซิส (Cēsis - ตั้งอยู่ทางภาคเหนือของลัตเวียในปัจจุบัน) ได้ยกทัพไปทำสงครามโดยใช้ธงสีแดง-ขาว-แดง เป็นสัญลักษณ์
 
ตำนานดังกล่าวได้อ้างว่า หัวหน้าชนเผ่าลัตเวียคนหนึ่งได้รับบาดเจ็บจากการรบและเสียชีวิตในภายหลัง ร่างของเขาได้ห่อไว้ด้วยผ้าสีขาว ซึ่งผ้านั้นมีคราบเลือดติดอยู่ทั่วทั้งผืน เว้นแต่ส่วนที่วางร่างของหัวหน้านักรบเท่านั้นที่คงเป็นสีขาว ในการรบครั้งต่อมาชนเผ่าลัตเวียจึงใช้ผ้าดังกล่าวเป็นธงประจำกองทัพและรบจนได้ชัยชนะพร้อมทั้งสามารถขับไล่ศัตรูไปได้ ชนเผ่าลัตเวียได้จึงใช้ธงสีแดง-ขาว-แดงเป็นสัญลักษณ์ของตนนับตั้งแต่นั้นมา<ref>{{cite web |url=http://www.flaggenlexikon.de/flett.htm |title=National Flagge des Lettland|accessdate=2003-04-27 |author=Volker Preuß|coauthors= }} {{de}}</ref>
 
จากตำนานที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้กลายเป็นที่มาของแบบธงชาติลัตเวียในปัจจุบัน ซึ่งออกแบบโดยศิลปินชื่อแอนซิซ ซีรูริส (Ansis Cīrulis) ใน[[เดือนพฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2460]] ต่อมาจึงได้รับการรับรองให้ใช้เป็นธงชาติอย่างเป็นทางการพร้อมกับตราแผ่นดินของลัตเวีย ตามบทบัญญัติพิเศษของรัฐสถาแห่งสาธารณรัฐลัตเวียลงวันที่ [[15 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2464]]
บรรทัด 42:
{| class="wikitable"
|-
|!
! โทนสี
! style="background-color:#FFFFFF"|สีขาว
! style="background-color:#a12830"|สีแดงเลือดหมู
|-
| [[Pantone]]
บรรทัด 59:
|-
|<br />
| bgcolor = "#FFFFFF"|
|
| bgcolor = "#a12830"|
|
|}
 
บรรทัด 75:
 
== วันธงชาติ ==
* [[16 กุมภาพันธ์]] — วันเอกราชของ[[ประเทศลิทัวเนีย]]
{| class=wikitable
| * [[24 กุมภาพันธ์]] || วันเอกราชของประเทศ[[ประเทศเอสโตเนีย]] || ประดับธงชาติลิทัวเนีย และ เอสโตเนีย
|-
|* [[25 มีนาคม]] ||([[ลดธงครึ่งเสา]]) วันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ || วันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์ ; ([[ลดธงครึ่งเสา]])
! วัน !! วันสำคัญ !! ความสำคัญ
| * [[1 พฤษภาคม]] || [[วันแรงงานสากล]]รัฐธรรมนูญ และ [[วันรัฐธรรมนูญแรงงาน]] ||
|-
| * [[4 พฤษภาคม]] || วันประกาศอิสรภาพใหม่ ([[พ.ศ. 2533]]) ||
| [[16 กุมภาพันธ์]] || วันเอกราชของประเทศลิทัวเนีย (จาก[[จักรวรรดิรัสเซีย]], [[พ.ศ. 2461]]) ||ประดับ[[ธงชาติลิทัวเนีย]] และ [[ธงชาติเอสโตเนีย]]
| * [[14 มิถุนายน]] ||(ลดธงครึ่งเสา) วันแห่งความหวัง || เพื่อรำลึกวันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจาก[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในไซบีเรีย]]โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์ [[พ.ศ. 2484]] ; (ลดธงครึ่งเสา)
|-
| * [[17 มิถุนายน]] ||(ลดธงครึ่งเสา) || วันรำลึกถึงการเริ่มต้นของการถูก[[สหภาพโซเวียต]]ยึดครอง ; (ลดธงครึ่งเสา)
| [[24 กุมภาพันธ์]] || วันเอกราชของประเทศ[[เอสโตเนีย]] || ประดับธงชาติลิทัวเนีย และ เอสโตเนีย
* [[4 กรกฎาคม]] (ลดธงครึ่งเสา) — วันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจาก[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว]]
|-
|* [[11 พฤศจิกายน]] || วัน Lāčplēsis Day ||
| [[25 มีนาคม]] || วันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ || วันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์ ; ([[ลดธงครึ่งเสา]])
|* [[18 พฤศจิกายน]] || วันเอกราชครั้งแรก (จากจักรวรรดิรัสเซีย [[พ.ศ. 2461]]) ||
|-
|* วันอาทิตย์แรกของเดือน[[ธันวาคม]] ||(ลดธงครึ่งเสา) วันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ||&nbsp;— วันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์ ; (ลดธงครึ่งเสา) &nbsp;
| [[1 พฤษภาคม]] || [[วันแรงงานสากล]] และ [[วันรัฐธรรมนูญ]] ||
|-
| [[4 พฤษภาคม]] || วันประกาศอิสรภาพใหม่ ([[พ.ศ. 2533]]) ||
|-
| [[9 พฤษภาคม]] || [[วันแห่งชัยชนะ (ยุโรปตะวันออก)|ชัยชนะเหนือเยอรมนี]] || วันสิ้นสุดของ[[มหาสงครามของผู้รักชาติ]] ซึ่งกองทัพแดง,เอาชนะ[[นาซีเยอรมัน]]ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]], [[พ.ศ. 2488]]
|-
| [[14 มิถุนายน]] || วันแห่งความหวัง || เพื่อรำลึกวันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจาก[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ในไซบีเรีย]]โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์ [[พ.ศ. 2484]] ; (ลดธงครึ่งเสา)
|-
| [[17 มิถุนายน]] || || วันรำลึกถึงการเริ่มต้นของการถูก[[สหภาพโซเวียต]]ยึดครอง ; (ลดธงครึ่งเสา)
|-
| [[4 กรกฎาคม]] || วันรำลึก[[การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว]] ||เพื่อรำลึกรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวโดยรัฐบาลนาซีเยอรมัน [[พ.ศ. 2486]] ; (ลดธงครึ่งเสา)
|-
| [[11 พฤศจิกายน]] || วัน Lāčplēsis Day ||
|-
| [[18 พฤศจิกายน]] || วันเอกราชครั้งแรก (จากจักรวรรดิรัสเซีย พ.ศ. 2461) ||
|-
| วันอาทิตย์แรกของเดือน[[ธันวาคม]] || วันรำลึกการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ || วันรำลึกถึงผู้เสียชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์โดยรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์ ; (ลดธงครึ่งเสา) &nbsp;
|-
|}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[ธงในประเทศลัตเวีย]]
* [[ตราแผ่นดินของลัตเวีย]]
* [[เดียฟส์Dievs, สเวติsveti ลัตวิยูLatviju|เพลงชาติลัตเวีย]]
* [[ธงชาติสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลัตเวีย]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|}}
* {{lv icon}} [http://www.saeima.lv/simbolika/karogs.htm Statute of 1994 regarding the National Flag of Latvia]
* {{lv icon}}{{de icon}}{{ru icon}}[http://www.historia.lv/alfabets/A/AT/atskanu_hronika/atskanu_hronika.htm The Rhyme Chronicle of Livonia (Ditleb’s von Alnpeke Livländische Reimchronik)]
* {{lv icon}} [http://www.likumi.lv/doc.php?id=70511&menu_body=KDOC Law regarding Official Standards]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Flags of Latvia}}
* {{FOTW|id=lv|title=ธงชาติลัตเวีย}}