ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัตววิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
จุดเปลี่ยนครั้งใหญ่ของการศึกษาสัตววิทยา ก็เมื่อ[[ชาลส์ ดาร์วิน]] ได้ตีพิมพ์หนังสือ ''กำเนิดพงศ์พันธุ์'' (On the Origin of Species by Means of Natural Selection) ซึ่งได้อธิบายทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต นับแต่นั้นการศึกษาด้านพันธุศาสตร์เริ่มมีความจำเป็นในการศึกษาทางชีววิทยา และการศึกษาในแนวลึกเฉพาะด้านเริ่มมีมากขึ้น และยังมีการศึกษาคาบเกี่ยวกันในแต่ละสาขาวิชาด้วย<ref>Appendix: Frequently Asked Questions" (php). Science and Creationism: a view from the National Academy of Sciences (Second ed.). Washington, DC: The National Academy of Sciences. 1999. p. 28. ISBN -0-309-06406-6. http://www.nap.edu/openbook.php?record_id=6024&page=27#p200064869970027001. Retrieved September 24, 2009</ref>
 
สำหรับสถาบันที่เปิดสอนศาสตร์ด้านสัตววิทยานั้น ใน[[ประเทศไทย]] ตามหลักสูตรของ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ต้องผ่านการสอบคัดเลือกเพื่อเข้าศึกษาใน[[สถาบันอุดมศึกษา]] ที่มีหลักสูตร สาขาวิชาสัตววิทยา และสาขาวิชาชีววิทยา เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะเกษตร คณะประมง เช่น [[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]], [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่|มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]], [[คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์| มหาวิทยาลัยสงขลา]], [[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น|มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] หลักสูตร 4 ปี สำเร็จการศึกษาได้วุฒิปริญญาตรี เป็นต้น และเมื่อศึกษาจบแล้ว สามารถเข้าทำงานในหน่วยงานภาครัฐ [[รัฐวิสาหกิจ]] หรือเอกชนได้ต่าง ๆ หลากหลาย <ref>[http://www.unigang.com/Article/98 นักสัตววิทยา อาชีพสำหรับคนรักสัตว์ {{th}}]</ref>
 
== สาขาแขนงของสัตววิทยา ==