ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
moveCategory
Mondne (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
การศึกษาของภิกษุ สามเณรในประเทศไทยแต่โบราณมาคือการศึกษาภาษาบาลี ที่เรียกว่าการศึกษาพระปริยัติธรรมเป็นการศึกษาพระพุทธศาสนาในภาษาบาลีเพื่อ ให้รู้ภาษาบาลีสามารถอ่านพระคัมภีร์ของพระพุทธศาสนาได้โดยสะดวกเพราะคัมภีร์ ของพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทดังที่นับถืออยู่ในประเทศไทยนั้น ล้วนจารึกไว้ด้วยภาษาบาลี ฉะนั้น ผู้ที่ประสงค์จะรู้พระธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนาให้แตกฉานจึงจำต้องศึกษาภาษา บาลีให้รู้แตกฉาน ซึ่งนับว่าเป็นเรื่องที่ยากไม่น้อยสำหรับภิกษุสามเณรทั่วไป ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่ไม่รู้ภาษาบาลีจึงพลอยไม่ค่อยรู้เรื่องคำสอนของพระพุทธศาสนาอย่างแจ้ง ชัดตามไปด้วย ทั้งเป็นเหตุให้ภิกษุสามเณรทั่วไปไม่ค่อยเอาใจใส่ที่จะศึกษาหาความรู้เกี่ยว กับคำสอนของพระพุทธศาสนาด้วยเพราะเรียนยาก รู้ยาก
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
|ชื่อหน่วยงาน = สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
|ชื่อในภาษาแม่_1 =
|ชื่อในภาษาแม่_2 =
|ชื่อในภาษาแม่_ท =
|สัญลักษณ์ =
|สัญลักษณ์ _กว้าง =
|สัญลักษณ์ _บรรยาย =
|ตรา = ตราแผนกธรรม.gif
|ตรา_กว้าง = 120 px
|ตรา_บรรยาย =
|ภาพ =
|ภาพ_กว้าง =
|ภาพ_บรรยาย =
|วันก่อตั้ง = [[พ.ศ. 2471]]
|สืบทอดจาก_1 =
|สืบทอดจาก_2 =
|สืบทอดจาก_3 =
|สืบทอดจาก_4 =
|สืบทอดจาก_5 =
|สืบทอดจาก_6 =
|วันยุบเลิก =
|สืบทอดโดย =
|เขตอำนาจ = ทั่วราชอาณาจักร
|กองบัญชาการ = {{flagicon|Thailand}} <br />[[วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
|latd= |latm= |lats= |latNS=
|longd= |longm= |longs= |longEW=
|รหัสภูมิภาค =
|บุคลากร =
|งบประมาณ =
|รัฐมนตรี1_ชื่อ =
|รัฐมนตรี1_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี2_ชื่อ =
|รัฐมนตรี2_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี3_ชื่อ =
|รัฐมนตรี3_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี4_ชื่อ =
|รัฐมนตรี4_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี5_ชื่อ =
|รัฐมนตรี5_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี6_ชื่อ =
|รัฐมนตรี6_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี7_ชื่อ =
|รัฐมนตรี7_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี8_ชื่อ =
|รัฐมนตรี8_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี9_ชื่อ =
|รัฐมนตรี9_ตำแหน่ง =
|รัฐมนตรี10_ชื่อ =
|รัฐมนตรี10_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า1_ชื่อ = [[สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)]] [[วัดบวรนิเวศวิหารราชวรวิหาร]]
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = '''แม่กอง'''
|หัวหน้า2_ชื่อ = พระพรหมเมธี [[วัดเทพศิรินทราวาส ราชวรวิหาร]]
|หัวหน้า2_ตำแหน่ง = '''รองแม่กอง'''
|หัวหน้า3_ชื่อ =
|หัวหน้า3_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า4_ชื่อ =
|หัวหน้า4_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า5_ชื่อ =
|หัวหน้า5_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า6_ชื่อ =
|หัวหน้า6_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า7_ชื่อ =
|หัวหน้า7_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า8_ชื่อ =
|หัวหน้า8_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า9_ชื่อ =
|หัวหน้า9_ตำแหน่ง =
|หัวหน้า10_ชื่อ =
|หัวหน้า10_ตำแหน่ง =
|ประเภทหน่วยงาน =
|ต้นสังกัด = [[มหาเถรสมาคม]]
|ลูกสังกัด_1 =
|ลูกสังกัด_2 =
|ลูกสังกัด_3 =
|ลูกสังกัด_4 =
|ลูกสังกัด_5 =
|ลูกสังกัด_6 =
|ลูกสังกัด_7 =
|ลูกสังกัด_8 =
|ลูกสังกัด_9 =
|เอกสารหลัก_1=
|เอกสารหลัก_2=
|เอกสารหลัก_3=
|เอกสารหลัก_4=
|เอกสารหลัก_5=
|เอกสารหลัก_6=
|เว็บไซต์ = [http://http://www.gongtham.org/ GONGTHAM.org]
|หมายเหตุ =
|แผนที่ =
|แผนที่_กว้าง =
|แผนที่_บรรยาย =
}}
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส แต่ครั้งยังทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหมื่น ทรงพระปริวิตกถึงความเป็นไปของภิกษุสามเณรดังกล่าวมาข้างต้น จึงได้ทรงพระดำริหาทางจัดการเล่าเรียนเพื่อให้ภิกษุสามเณรได้เรียนรู้พระ ธรรมวินัยได้สะดวกแล้วกว้างขวางยิ่งขึ้น โดยได้ทรงริเริ่มสอนพระธรรมวินัยแก่ภิกษุสามเณรบวชใหม่เป็นภาษาไทยขึ้นที่ วัดบวรนิเวศวิหารเป็นครั้งแรก ในฐานะที่ทรงเป็นพระอุปัชฌายาจารย์ ดังที่ทรงอธิบายไว้ในตำนานวัดบวรนิเวศวิหารว่า
'''สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง''' ({{lang-en| Central Dharma Testing Service Headquarters of Thailand}}) คู่กับสำนักงาน[[แม่กองบาลีสนามหลวง]]ของ[[คณะสงฆ์]]ไทย เป็นหน่วยงานภายใต้การดูแลของ[[มหาเถรสมาคม]]ซึ่งอยู่ในความอุปถัมภ์ของ[[รัฐบาล]] หน้าที่หลักคือดำเนินการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษา ชั้นตรี โท เอกของชาติ<ref>[http://www.gongtham.org/my_data/book/index_gtbook.php หลักสูตรการศึกษาแผนกธรรม]</ref> และจัดให้มีการสอบไล่วัดผลประจำปีตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาที่เปิดสอนไปทั่วราชอาณาจักรไทยและต่างประเทศ การปฏิบัติงานของสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงเป็นการปฏิบัติงานเพื่อดูแลการสอบวัดผลการศึกษาเล่าเรียนธรรมะระดับชาติภายใต้การดูแลของ[[มหาเถรสมาคม]]ของคณะสงฆ์ไทย
 
แต่ก่อนมา ภิกษุบวชได้กี่พรรษาก็ตาม ไม่สนใจแล้วไม่รู้ธรรมวินัยเลย นอกจากที่เคยปฏิบัติ จึงจัดสอนภิษุสามเณรบวชใหม่ในเรียนธรรมวินัยในภาษาไทยเป็นการส่วนตัวใน หน้าที่แห่งอุปัชฌายาจารย์ก่อน ต่อมาปลูกความนิยมออกไปถึงภิกษุสามเณรเก่าด้วย จนถึงจัดเป็นการเรียนเป็นพื้นวัดขึ้นได้ แลมีวัดธรรมยุตอื่นทำตามแพร่หลายออกไป”
== ประวัติ ==
{{โครงส่วน}}
 
นี้คือจุดเริ่มต้นของการศึกษาพระ ปริยัติธรรมแบบใหม่ที่เรียกว่า “นักธรรม” ในเวลาต่อมา หรือเรียกอย่างเป็นทางการว่า พระปริยัติธรรมแผนกธรรม คู่กับพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ซึ่งเป็นหลักสูตรการศึกษาของพระสงฆ์ไทยมาแต่โบราณ
== รายชื่อแม่กองธรรมสนามหลวง ==
{{โครงส่วน}}
[[ไฟล์:ตราแม่กองธรรม.jpg|150px|thumb|ตราแม่กองธรรมในประกาศนียบัตร]]
ปัจจุบัน สมเด็จพระวันรัต (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต ป.ธ.9) [[วัดบวรนิเวศวิหาร]] เป็นแม่กองธรรมสนามหลวง <ref>[http://www.gongtham.org/my_data/meakong/index.php ประวัติย่อ เจ้าพระคุณพระพรหมมุนี]</ref>
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรสได้ทรงเริ่มการสอนธรรมวินัยในภาษาไทยแก่ภิกษุสามเณรบวช ใหม่ดังกล่าวมาข้างต้นขึ้นเมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐาน ทรงกล่าวไว้ในตำนานวัดบวรนิเวศวิหาร แต่เพียงว่า การสอนธรรมวินัยในภาษาไทยแก่ภิกษุสามเณรบวชใหม่ดังกล่าว เป็นการที่ได้ทรงจัดขึ้นเมื่อทรงครองวัดบวรนิเวศวิหาร สืบต่อจากสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ (นับแต่ พ.ศ. ๒๔๓๕ เป็นต้นมา) จึงสันนิษฐานว่า คงทรงริเริ่มขึ้นตั้งแต่เมื่อแรกทรงครองวัดบวรนิเวศวิหาร ในฐานที่ทรงเป็นพระอุปัชฌาย์ซึ่งจะต้องให้การอบรมสั่งสอนสัทธิวิหาริกและ ภิกษุสามเณรที่อยู่ในความปกครอง
== การจัดการศึกษาในปัจจุบัน ==
{{โครงส่วน}}
=== หลักสูตรนักธรรม (พระสงฆ์สามเณร) ===
{{โครงส่วน}}
=== หลักสูตรธรรมศึกษา (คฤหัสถ์) ===
{{โครงส่วน}}
 
ลักษณะการสอนธรรมวินัยในภาษาไทยที่สมเด็จ พระมหาสมณเจ้าฯ ทรงสอนภิกษุสามเณรบวชใหม่นั้น ทรงสอนอย่างไร สังเกตจากสำเนาพระโอวาท ที่ประทานแก่นวกภิกษุปี พ.ศ. ๒๔๕๗ ที่พระยาศรีปัญชา (ทวน ธรรมาชีวะ) ซึ่งเป็นนวกภิกษุในปีนั้น ได้จดบรรทึกไว้เป็นรายวันตามที่ทรงสอนปรากฏว่า เนื้อหาของพระโอวาทประกอบด้วยพระอธิบายเรื่องธรรม เรื่องพระพุทธประวัติ และเรื่องวินัย โดยทรงสอนไปตามลำดับ คือ ธรรม พุทธประวัติ และ วินัย
== การสอบธรรมสนามหลวง ==
'''การสอบธรรมและธรรมศึกษาในสนามหลวง''' หมายถึง '''การสอบไล่เพื่อวัดผลธรรมและธรรมศึกษาเพื่อเลื่อนชั้นประจำปีของชาติ''' พระสงฆ์เจ้าหน้าที่ในสังกัดสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวงมีหน้าที่วางแผน, ประเมินและดำเนินการเพื่อให้การศึกษาของสงฆ์ตามหลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาของชาติมีประสิทธิภาพและคุณภาพ<ref>[http://gongtham.org/pexam/index.html ประกาศผลสอบแผนกธรรม]</ref>
 
ที่มา: http://www.gongtham.net
=== วันสอบธรรม ===
{{โครงส่วน}}
=== การจัดสอบธรรม ===
{{โครงส่วน}}
==== การสอบไล่นักธรรม====
{{โครงส่วน}}
==== การสอบไล่ธรรมศึกษา====
{{โครงส่วน}}
==== การจัดสอบธรรมในต่างประเทศ====
{{โครงส่วน}}
 
== ที่ตั้งสำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง ==
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง ตั้งอยู่ที่ หน้า[[วัดบวรนิเวศวิหาร]] [[เขตพระนคร]] [[กรุงเทพมหานคร]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[แม่กองบาลีสนามหลวง]]
* [[การสอบสนามหลวง]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons|Category:Examination of Buddhist monk}}
* [http://www.gongtham.org/my_data/history_gongtham/index.php ประวัติการศึกษาแผนกธรรม]
* [http://www.gongtham.org/my_data/number_meakong/index_mydata_book.html ทำเนียบแม่กองธรรมสนามหลวง]
* [http://www.balee.net/index.php ข้อมูลนักธรรม ธรรมศึกษา บาลีประโยค1-2 ถึง 9 เพื่อการศึกษาพระปริยัติธรรม.จากบาลีดอตเน็ต]
{{geolinks-bldg|13.76016|100.501664}}
{{หลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม}}
[[หมวดหมู่:หน่วยงานจัดการศึกษาหลักของคณะสงฆ์ไทย]]
[[หมวดหมู่:องค์กรทางศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:การศึกษา]]
[[หมวดหมู่:การศึกษาของคณะสงฆ์ไทย]]
[[en:Sanam Luang Dhamma Studies]]
{{โครงพระพุทธศาสนา}}