ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:ผลประโยชน์ทับซ้อน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jutiphan (คุย | ส่วนร่วม)
+นโยบาย
Jutiphan (คุย | ส่วนร่วม)
เรียง +เว็บย่อ
บรรทัด 1:
{{นโยบาย}}{{เว็บย่อ:WP:COI}}
ผลประโยชน์ทับซ้อนในวิกิพีเดียเกิดขึ้นจากความขัดแย้งระหว่างการพยายามสร้างสารานุกรมใน[[วิกิพีเดีย:มุมมองที่เป็นกลาง|มุมมองที่เป็นกลาง]] กับผู้เขียนที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อนั้น ผลประโยชน์สามารถเกิดขึ้นได้หลายแบบไม่ว่า การโฆษณาสินค้าหรือทางบริษัทของตน การวิพากษณ์วิจารณ์คู่แข่ง ในการช่วยให้วิกิพีเดียปลอดจากเรื่องผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับคนใดคนหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งนั้น ถ้าคุณรู้ว่าคุณอาจจะมีผลประโยชน์ทับซ้อน คุณควรจะหลีกเลี่ยงการแก้ไขบทความที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือองค์กรที่คุณมีส่วนร่วมหรือหน่วยงานคู่แข่ง โดยถ้าคุณรู้สึกว่าจำเป็นต้องแก้ไขเนื่องจากข้อความที่มีอยู่ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง คุณสามารถอภิปรายเพิ่มเติมในหน้าพูดคุยของแต่ละหน้านั้น และขอให้ผู้อ่านร่วมทำการแก้ไขข้อความให้ถูกต้องได้
 
== รูปแบบผลประโยชน์ทับซ้อนแบบไหนบ้าง ==
[[วิกิพีเดีย]]มีจุดประสงค์จะเป็น[[สารานุกรม]]ที่เป็นกลาง และมีการกล่าวถึงในหลายเรื่องว่า[[วิกิพีเดีย:อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย|อะไรที่ไม่ใช่วิกิพีเดีย]] ซึ่งรวมถึงการโฆษณาสินค้า โฆษณาตัวเอง การปล่อยข่าวลือ ถึงแม้ว่าจะไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนว่าอะไรคือผลประโยชน์ที่ทับซ้อน การพิจารณานั้นขึ้นอยู่กับตัวคุณเอง โดยดูได้จากเจตนาของตัวคุณในขณะที่เขียน ว่าำกำลังพยายามสร้างสารานุกรมที่เป็นกลางอยู่หรือไม่
 
บรรทัด 16:
ผู้เขียนวิกิพีเดียสามารถเขียนเรื่องราวของตนเองลงได้ในวิกิพีเดียในส่วนหน้าย่อยที่เรียกว่าหน้าผู้ใช้ โดยหน้าเหล่านั้นจะขึ้นต้นด้วยคำว่า "ผู้ใช้:" ซึ่งจะแบ่งแยกออกจากส่วนสารานุกรมอย่างชัดเจน โดยแต่ละคนสามารถเขียนได้อย่าง "เหมาะสม" ตามนโยบายวิกิพีเดีย อย่างไรก็ตามถ้าคุณต้องการเขียนเรื่องราวของตนเองโดยไม่สนใจที่จะร่วมเขียนอย่างอื่นในวิกิพีเดีย คุณอาจจะลองสร้าง[[บล็อก]]หรือ[[เว็บไซต์]]ของคุณเองแทนที่
 
== ผลที่ไม่คาดคิดที่อาจจะเกิดขึ้น ==
เมื่อคุณเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับตัวคุณเอง ผลงานคุณ หรือบริษัทคุณ แน่นอนว่างานเขียนนั้นคุณได้มอบให้กับทางวิกิพีเดียผ่านทางลิขสิทธิ์แบบ[[GFDL]] ซึ่งคุณไม่สามารถควบคุม และไม่มีสิทธิในการลบบทความนั้นๆ เมื่อบทความนั้นถูกสร้างขึ้นแล้วจะมีชาววิกิพีเดียคนอื่นมาช่วยกันเขียน และซึ่งหากมีข้อมูลที่คุณไม่ชอบ แต่ในที่สุดผู้อื่นอาจเพิ่มเติมข้อมูลแก้ไขให้บทความนั้นเป็นกลางและสอดคล้องกับนโยบายวิกิพีเดีย รวมถึงคำพิพากษ์วิจารณ์ที่คุณอาจไม่ต้องการ และแน่นอนคุณวิกิพีเดียอาจไม่สามารถทำเรื่องร้องขอให้คุณลบบทความนั้นได้ ดังนั้นอย่าเพียงแต่สร้างเนื้อหาที่คุณชื่นชอบ หรือเพียงต่อการสรรเสริญ
 
ตัวอย่างเช่นในบทความ [[วิจิตร เกตุแก้ว]] เริ่มต้นด้วยข้อความ