ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: hr:Karmelićani (strong connection between (3) hr:Karmelićani and th:คณะคาร์เมไลท์)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox organization
[[ไฟล์:Teresa of Avila dsc01644.jpg|thumb|200px|'''นักบุญเตเรซาแห่งอาบีลา''' ผู้ปฏิรูปและก่อตั้งคณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า]]
|name = คณะภราดาไม่สวมรองเท้าแห่งพระนางพรหมจารีมารีย์แห่งภูเขาคาร์เมล
'''คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า''' ({{lang-en|Order of Discalced Carmelites}}) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]] ซึ่งแยกตัวออกมาจาก[[คณะคาร์เมไลท์]]เดิม โดยมีนักบุญ[[เตเรซาแห่งอาบีลา]]และนักบุญ[[จอห์นแห่งไม้กางเขน]]ร่วมกันดำเนินการปฏิรูป
|image = escocd.gif
|size = 200px
|abbreviation = O.C.D.
|motto =
|formation = ปลายคริสตศตวรรษที่ 12
|status =
|headquarters = Casa Generalizia dei Carmelitani Scalzi [[กรุงโรม]] [[ประเทศอิตาลี]]
|type = [[คณะนักบวชคาทอลิก]]
|leader_title = [[อัคราธิการ]]
|leader_name = [[บาทหลวง]]เซวารีโอแห่งพระหฤทัยของพระเยซู
|website = http://www.discalcedcarmel.com
}}
'''คณะคาร์เมไลท์ภราดาไม่สวมรองเท้าแห่งพระนางพรหมจารีมารีแห่งภูเบาคาร์แมล''' ({{lang-la|Ordo Fratrum Discalceatorum B. Mariae V. de Monte Carmelo}}: {{lang-en|the Discalced Friars of the Order of Discalcedthe Blessed Virgin Mary of Mount Carm Carmelites}}) เรียกโดยย่อว่า'''คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า''' (Order of Discalced Carmelites) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]] ซึ่งแยกตัวออกมาจาก[[คณะคาร์เมไลท์]]เดิม โดยมีนักบุญ[[เตเรซาแห่งอาบีลา]]และนักบุญ[[จอห์นแห่งไม้กางเขน]]ร่วมกันดำเนินการปฏิรูป
 
==ประวัติ==
เมื่อคณะคาร์เมไลท์แพร่หลายทั่วทวีปยุโรปเป็นเวลาหลายศตวรรษ นักบวชคาร์เมไลท์ทั้งชายและหญิงเริ่มไม่เคร่งครัดในวินัย จนถึงศตวรรษที่ 16 ได้เกิดกระแสเรียกร้องการปฏิรูปคณะนักบวชต่างๆ ให้เคร่งครัดในวินัยมากขึ้น ภายในคณะนักบวชหญิงคาร์เมไลท์ก็มี[[ภคินี''']][[เตเรซาแห่งอาบีลา]]'''ดำเนินการปฏิรูปก่อนแล้ว โดยท่านได้ร่างแผนการปฏิรูปตั้งแต่ ค.ศ. 1563 ให้นักบวชคาร์เมไลท์หันกลับไปรักษาวินัยดั้งเดิมของคณะอย่างเคร่งครัด โดยไม่มีการผ่อนปรน
 
ในปี ค.ศ. 1567 ท่านได้รับอนุญาตจาก[[อัคราธิการ (General Superior) ]][[คณะคาร์เมไลท์]]ให้ตั้ง[[อาราม]]ใหม่สำหรับการปฏิรูป ภายในช่วงเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1567 จนถึง 1571 จึงตั้งอารามที่เมืองเมดีนา เดล กัมโป, วายาโดลิด, โตเลโด, ปัสตรานา, ซาลามังกา, และอัลบา เด ตอร์เมส
 
นอกจากนี้ ท่านยังได้ชักชวน'''ภราดาจอห์นแห่งนักบุญมัทธีอัส''' (ซึ่งต่อมารู้จักกันในนามนักบุญ[[จอห์นแห่งไม้กางเขน]]) ซึ่งขณะนั้นอายุได้เพียง 25 ปีให้ทำการปฏิรูปคณะ ภราดาจอห์นตอบตกลง ในฤดูร้อนปีต่อมา ภคินีเตเรซาได้ส่งภราดาจอห์นไปสร้างอารามคณะคาร์เมไลท์ปฏิรูปที่ดูรูเอโย (Duruello) ซึ่งถือว่าเป็นอารามแห่งแรกของคณะนักบวชชายคาร์เมไลท์ปฏิรูป<ref name="ขึ้นภูเขาคาร์เมล">ยอห์นแห่งไม้กางเขน, ''ขึ้นภูเขาคาร์เมล'', อารามคาร์แมล จันทบุรี, 2541, หน้า หน้า xiii - xxxi</ref>
เส้น 11 ⟶ 24:
วัตรปฏิบัติของคณะคาร์เมไลท์กลุ่มนี้เคร่งครัดมาก เน้นการสวดภาวนา ใช้ชีวิตแบบยากจน สันโดษ เดินด้วยเท้าเปล่า ด้วยเหตุนี้จึงได้ชื่อว่า '''คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า''' (Order of Discalced Carmelites)<ref name="ขึ้นภูเขาคาร์เมล"/>
 
เมื่อตั้งอารามแล้ว ปรากฏว่ามีนักบวชชายสนใจเข้าร่วมการปฏิรูปอย่างต่อเนื่องทำให้คณะปฏิรูปเริ่มขยายตัว และเกิดการต่อต้านอย่างหนักจากนักบวชที่ต้องการผ่อนปรนวินัย อย่างไรก็ตาม คณะคาร์เมไลท์ปฏิรูปก็ได้รับอนุมัติจาก[[สันตะสำนัก (Holy See) ]]ให้มีสิทธิ์ในการปกครองตนเองอย่างสมบูรณ์ไม่ต้องขึ้นกับคณะคาร์เมไลท์เดิม ในวันที่ 20 ธันวาคม ค.ศ. 1593<ref name="ขึ้นภูเขาคาร์เมล"/>
 
==คณะคาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้าในประเทศไทย==
คณะคาร์เมไลท์ในประเทศไทยปัจจุบันยังมีเพียงที่เป็นคณะนักบวชหญิง ซึ่งมีชื่อเรียกอย่างเป็นทางการว่า '''ภคินีไม่สวมรองเท้าคณะพระนางพรหมจารีมารีแห่งภูเขาคาร์แมล''' (The discalced nuns of the order of the Blessed Virgin Mary of Mount Carmel)<ref name="ภคินีไม่สวมรองเท้าคณะพระนางพรหมจารีมารีแห่งภูเขาคาร์แมล">[http://www.catholic.or.th/spiritual/article/article2010/article20104.html ภคินีไม่สวมรองเท้าคณะพระนางพรหมจารีมารีแห่งภูเขาคาร์แมล]. คาทอลิก อัครสังฆมณฑล[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]. เรียกข้อมูลวันที่ 10 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref> ส่วนคณะภราดายังไม่ได้จัดตั้งเนื่องจากนักบวชชายยังมีไม่เพียงพอ<ref name="คาร์เมไลท์ ชีวิตภาวนา และพลีกรรม">[http://www.catholic.or.th/spiritual/article/article08/article081.html คาร์เมไลท์ ชีวิตภาวนา และพลีกรรม]. คาทอลิก อัครสังฆมณฑล[[เขตมิสซังกรุงเทพฯ]]. เรียกข้อมูลวันที่ 10 ต.ค. พ.ศ. 2553.</ref>
 
อารามของภคินีคาร์เมไลท์ในประเทศไทยมีอยู่ 4 ที่ คือ ที่กรุงเทพฯ นครปฐม จันทบุรี และนครสวรรค์
เส้น 26 ⟶ 39:
 
{{เรียงลำดับ|คาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า}}
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 12]]
[[หมวดหมู่:คณะนักบวชคาทอลิก|คาร์เมไลท์ไม่สวมรองเท้า]]
 
[[ca:Carmelites descalços]]