ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน/การทับศัพท์ภาษาอิตาลี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ref name
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนหมวดหมู่
บรรทัด 45:
'''4. หลักเกณฑ์อื่น ๆ''' เช่น การใช้เครื่องหมายทัณฑฆาต ไม้ไต่คู้ เครื่องหมายวรรณยุกต์ ให้ถือตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษ
 
== ตารางเทียบเสียงสระภาษาอิตาลี ==
{|class="wikitable" width="97%"
! สระ || เสียง|| ตัวอย่างคำ || หมายเหตุ
บรรทัด 79:
|ei (ไม่ลงเสียงหนักที่ i)||เอย์||d'''ei''' = เดย์
|-
|er (เมื่อ r ไม่ได้เป็น<br />พยัญชนะต้นของ<br />พยางค์ถัดไป)||แอร์||f'''er'''ro = แฟร์โร
|-
! สระ || เสียง|| ตัวอย่างคำ || หมายเหตุ
บรรทัด 91:
|ì||อิ||luned'''ì''' = ลูเนดิ
|-
|colspan=4|(1) i ที่ตามหลัง g และ c และมีสระอื่นตามหลัง ถ้าไม่ได้ลงเสียงหนักที่ i <ref>คำในภาษาอิตาลี ส่วนใหญ่จะลงเสียงหนักที่พยางค์รองสุดท้าย</ref> จะไม่ออกเสียง เนื่องจากเป็นเพียงเครื่องหมายบอกว่า g ออกเสียง จ และ c ออกเสียง ช เช่น<br />
:::::::'''Gi'''useppe = จูเซปเป<br />
:::::::'''Gi'''otto = จอตโต<br />
:::::::Boccac'''ci'''o = บอกกัชโช<br />
(2) ia, ie, io และ iu ที่ลงเสียงหนักเฉพาะที่ i หรือ u ตัวใดตัวหนึ่ง ให้ออกเสียงแยกกัน เช่น<br />
:::::::v'''ia''' = วีอา<br />
:::::::m'''ie''' = มีเอ<br />
:::::::m'''io''' = มีโอ<br />
:::::::f'''iu'''me = ฟีอูเม<br />
(3) ia, ie, io และ iu ที่มีสระอื่นนำหน้าหรืออยู่ต้นศัพท์ จะไม่ลงเสียงหนักที่ i หรือ u ให้ถอดเป็น ยา เย โย และ ยู ตามลำดับ เช่น<br />
:::::::'''Ia'''copo = ยาโกโป<br />
:::::::pa'''ia''' = ปายา<br />
:::::::ba'''ie''' = บาเย<br />
:::::::pa'''io''' = ปาโย<br />
:::::::Pa'''iu'''olo = ปายูโอโล<br />
(4) ia ที่ตามหลังพยัญชนะ และไม่ลงเสียงหนักทั้งที่ i และ a ให้ถอดเป็น เอีย เช่น<br />
:::::::Venez'''ia''' = เวเนเซีย
|-
บรรทัด 121:
|oi||โออี ||st'''oi'''co = สโตอีโก
|-
|or (เมื่อ r ไม่ได้เป็น<br />พยัญชนะต้นของ<br />พยางค์ถัดไป)||ออร์||Sf'''or'''za = สฟอร์ซา
|-
! สระ || เสียง|| ตัวอย่างคำ || หมายเหตุ
บรรทัด 136:
|}
 
== ตารางเทียบเสียงพยัญชนะภาษาอิตาลี ==
{|class="wikitable" width="97%"
! rowspan =2 | พยัญชนะ || colspan = 2 | พยัญชนะต้น || colspan = 2| ตัวสะกดและตัวการันต์ || rowspan =2 | หมายเหตุ
บรรทัด 162:
| ch + i||'''chi''' = กี
|-
|colspan=6|c เมื่อเป็นตัวสะกด<br />
::(1) จะมีเสียงตาม c ที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เช่น<br />
:::::biste'''c'''ca = บิสเตกกา<br />
:::::fre'''c'''ce = เฟรชเช <br />
::(2) จะมีเสียงตาม ch และ qu ที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เช่น<br />
:::::ri'''c'''chi = ริกกี<br />
:::::a'''c'''qua = อักกวา
|-
บรรทัด 192:
| gh + i|| '''ghi'''accio = กีอัชโช
|-
|colspan=6|g เมื่อเป็นตัวสะกด<br />
::(1) จะมีเสียงตาม g ที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เช่น<br />
:::::a'''g'''gancio = อักกันโช<br />
:::::a'''g'''guzzo = อักกุซโซ<br />
:::::so'''g'''getto = ซอจเจตโต<br />
:::::ra'''g'''gi = รัจจี<br />
::(2) จะมีเสียงตาม gh ที่เป็นพยัญชนะต้นของพยางค์ถัดไป เช่น<br />
:::::mu'''g'''ghiare = มุกเกียเร
|-
บรรทัด 211:
| rowspan= 2|gl + i|| กล||ne'''gli'''gente = เนกลีเจนเต||rowspan= 2 |- || rowspan= 2 |-
|-
| ลย ||fi'''gli'''a = ฟีลยา<br />'''gli''' = ลยี
|-
|colspan=6|gl ที่ตามด้วยสระ i ส่วนใหญ่ออกเสียง ลย ยกเว้นบางคำที่มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก เช่น<br />
:::::'''gli'''cerina = กลีเชรีนา
|-
| gn||ญ||'''gn'''omo = โญโม||-||-
|-
|colspan=6|gn เมื่อไม่อยู่ต้นคำ ใช้ ญญ เช่น<br />
:::::gna'''gn'''era = ญัญเญรา<br />
:::::O'''gn'''issanti = ออญญิสซันตี<br />
:::::Impe'''gn'''oso = อิมเปญโญโซ
|-
บรรทัด 255:
| s + สระ|| ซ|| '''s'''ala = ซาลา||-||-
|-
| s + พยัญชนะ|| ซ||'''s'''palla = สปัลลา<br />'''s'''tampa = สตัมปา||-||-
|-
| sc + a|| rowspan= 3 | สก||'''sca'''la = สกาลา||rowspan= 3 |- || rowspan= 3 |-
บรรทัด 280:
<references/>
 
== ดูเพิ่มเติมเพิ่ม ==
* [[ภาษาอิตาลี]]
* [[การเขียนคำทับศัพท์]]
 
==เว็บไซต์ แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://royin.go.th/th/profile/index.php?PageNo=1&PageShow=152&SystemModuleKey=129 การเขียนคำทับศัพท์ภาษาอิตาลี จากเว็บไซต์ราชบัณฑิตยสถาน]
 
[[หมวดหมู่:การเขียนคำทับศัพท์|อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ภาษาอิตาลี]]