ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไม้ม้วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
'''ไม้ม้วน''' (ใ) ใช้เป็น[[สระ]] ใอ เมื่ออยู่หน้า[[พยัญชนะ]]ต้น
 
== ประวัติ ==
== การใช้งาน ==
ไม้ม้วนมีปรากฏในภาษาเขียนของไทย มาตั้งแต่สมัยสุโขทัย ใน[[ศิลาจารึกหลักที่หนึ่ง]] ของ[[พ่อขุนรามคำแหง]] ในคำว่า ใคร ใคร่ ใด ใส ใหญ่ ใน ให้ ใช้ ใต้ ใศ่ ใว้ เป็นต้น อาจกล่าวได้ว่าไม้ม้วนเป็นอักษรเฉพาะในภาษาไทยสยาม และไม่ปรากฏในภาษาเขียนในตระกูลภาษาไทอื่นๆ แม้กระทั่งในอักษรตระกูลอินเดีย ภาษาอื่นๆ
 
บรรทัด 83:
เป็นที่น่าสังเกตว่า การใช้ไม้ม้วนนั้น จำกัดอยู่ที่คำศัพท์ 20 คำ มาตั้งแต่สมัยอยุธยาเป็นอย่างน้อย และคำศัพท์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น จะใช้ไม้มลายทั้งสิ้น (เว้นแต่ลูกคำที่แตกจากแม่คำ ซึ่งใช้ไม้ม้วนอยู่แล้ว) แม้คำศัพท์เฉพาะ ที่เป็นชื่อต่างๆ ก็ไม่นิยมที่จะใช้ไม้ม้วนนอกเหนือจาก 20 คำดังกล่าว
 
;สรุป== คำที่ใช้ไม้ม้วน ==
* ใกล้
ใกล้ ใคร ใคร่ ใจ ใช่ ใช้ ใด ใต้ ใน ใบ ใบ้ ใฝ่ สะใภ้ ใย (ยองใย, ใยบัว) ใส ใส่ ให้ ใหญ่ ใหม่ ใหล (หลงใหล, หลับใหล)
* ใคร
* ใคร่
* ใจ
* ใช่
* ใช้
* ใด
* ใต้
* ใน
* ใบ
* ใบ้
* ใฝ่
* สะใภ้
* ใย (ยองใย, ใยบัว)
* ใส
* ใส่
* ให้
* ใหญ่
* ใหม่
* ใหล (หลงใหล, หลับใหล)
 
[[หมวดหมู่:สระ|ใ]]