ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ปลาดุก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Torpido (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
| color = pink
| name = วงศ์ปลาดุก
| image = ดุกลำพัน1Clari nieuh 090810-10593 klr.jpg
| image_width = 200px
| image_caption = ''[[Clarias leiacanthus]]'' ชนิดที่พบใน[[พรุ|ป่าพรุ]] [[มาเลเซีย]] [[สิงคโปร์]]และ[[อินโดนีเซีย]] ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับ[[ปลาดุกลำพัน]] (''C.Clarias nieuhofii'') เป็นปลาที่จะพบได้ในพื้นที่[[พรุ|ป่าพรุ[[ประเทศไทย]]มาก
| image2 = Clarias batrachus-ZOO.Brno.jpg
| image2_width = 200px
บรรทัด 37:
*''[[Xenoglanis]]''<br>
}}
'''วงศ์ปลาดุก''' ([[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: Clariidae, {{lang-en|Walking catfish, Airbreathing catfish}}) เป็น[[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]]ปลาจำพวกหนึ่ง ใน[[อันดับปลาหนัง]] มีลักษณะเด่นชัดคือ ส่วนหัวกลมแบราบ ตาเล็กอยู่ด้านข้างของหัว ปากเล็กอยู่ตอนปลายสุดของจะงอยปาก มีหนวดรอบปาก 4 คู่ ยาวเท่า ๆ กัน ครีบอกมีก้านแข็งแหลมคม มีพิษแรงปานกลาง ครีบหลังไม่มีก้านครีบแข็งและยาวเกือบเท่าความยาวลำตัวเช่นเดียวกับครีบก้น ครีบหลังและครีบท้องเล็กปลายมน ปลาดุกมีอวัยวะพิเศษรูปร่างคล้ายก้อนฟองน้ำสีแดงสดอยู่ในช่องเหงือกตอนบนสำหรับช่วยหายใจโดยใช้อากาศเหนือน้ำได้ จึงทำให้ปลาในวงศ์นี้สามารถอยู่เหนือน้ำได้นานกว่าปลาชนิดอื่น ๆ และยังสามารถแถก คืบคลานบนบกได้เมื่อฝนตกน้ำไหลหลาก และเป็นที่ของชื่อ[[ภาษาอังกฤษ]]ว่า "Walking Catfish"
 
มีการวางไข่โดยขุดโพรงหรือทำรัง บาง[[สปีชีส์|ชนิด]] ตัวผู้และตัวเมียช่วยกันดูแลไข่จนฟักเป็นตัว ไข่เป็นแบบไข่ติด ปลาในวงศ์นี้มีการกระจายพันธุ์กว้างไกลตั้งแต่[[ทวีปแอฟริกา]]จนถึง[[เอเชีย]] พบใน[[ประเทศไทย]]ราว 10 ชนิด เป็นปลาน้ำจืดที่ใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ที่คนไทยรู้จักดี ได้แก่ [[ปลาดุกด้าน|ดุกด้าน ]](''Clarias batrachus'') และ[[ปลาดุกอุย|ดุกอุย]] (''C. macrocephalus'')