ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่นไหวสะเทือน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
Subpadon (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 64:
เส้นทางการเดินทางของคลื่นจากจุด[[ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว|ศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว]]ถึงจุดสังเกตการณ์มักจะถูกเขียนในรูปแบบของแผนภาพโดยใช้ลูกศรแสดงทิศทางการเดินทางของคลื่นดังตัวอย่างในภาพ เมื่อพิจารณา[[การสะท้อน (ฟิสิกส์)|การสะท้อน]]ของคลื่นเมื่อเดินทางผ่านตัวกลางชนิดต่างๆ จะทำให้เส้นทางการเดินทางของคลื่นที่เป็นไปได้มีจำนวนนับไม่ถ้วน แต่ละรูปแบบที่เป็นไปได้สามารถเขียนแทนได้ด้วยกลุ่มของตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวอักษรพิมพ์เล็กใช้สื่อถึงเส้นเขตระหว่างสองตัวกลาง (เกิด[[การสะท้อน (ฟิสิกส์)|การสะท้อน]]ของคลื่น) ในขณะที่ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ใช้สื่อถึงตัวกลางที่คลื่นเดินทางผ่านเข้าไป<ref name="BullenBolt1985">
{{cite book|author1=Keith Edward Bullen|author2=Bruce A. Bolt|title=An introduction to the theory of seismology|url=http://books.google.com/books?id=Pr96hZU_X7sC|accessdate=15 May 2011|year=1985|publisher=Cambridge University Press|isbn=9780521283892}}
</ref><ref name="LeeEducation2003">{{cite book|author1=William H. K. Lee|author2=International Association of Seismology and Physics of the Earth's Interior. Committee on Education|author3=International Association for Earthquake Engineering|title=International handbook of earthquake and engineering seismology|url=http://books.google.com/books?id=qWmwnHIW5HUC|accessdate=19 May 2011|year=2003|publisher=Academic Press|isbn=9780124406582}}</ref>
</ref><ref>International Handbook of Earthquake and Engineering Seismology, Volume 1; ed. William Han Kung Lee; accessed through books.google.com</ref>
 
{| class="wikitable"