ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไกเซอร์ (ธรณีวิทยา)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rubinbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.5.4) (โรบอต แก้ไข: tr:Gayzer
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น|||ไกเซอร์}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:GeysirEruptionNear.jpg|thumb|ไกเซอร์ในไอซ์แลนด์]]
[[ไฟล์:Steam_Phase_eruption_of_Castle_geyser_with_double_rainbow.jpg|thumb|การปะทุของไกเซอร์ในรูปของไอน้ำ ทำให้สามารถมองเห็นรุ้งกินน้ำได้ ที่ Castle Geyser in Yellowstone National Park]]
 
'''ไกเซอร์''' ({{lang-en|Geyser}}) คือลักษณะของ[[น้ำพุร้อน]]ปล่อยกระแสน้ำร่วมกับ[[ไอน้ำ]]ออกมาเป็นระยะๆ ไม่สม่ำเสมอ การเกิดของไกเซอร์ขึ้นอยู่กับลักษณะเฉพาะทาง[[อุธกธรณีวิทยา]] ซึ่งสามารถพบได้เพียงไม่กี่แห่งในโลก จีงจัดได้ว่าเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมมชาติที่หาดูได้ยากชนิดหนึ่ง ไกเซอร์มักจะตั้งอยู่ใกล้กับบริเวณภูเขาไฟที่ยังสามารถระเบิดได้อยู่และได้รับผลจากแม็กมาในบริเวณใกล้เคียงอีกด้วย โดยทั่วไปแล้วที่ความลึกประมาณ 2.2 กิโลเมตร (6,600 ฟุต) จะเป็นบริเวณที่ผิวน้ำพบกับหินร้อน และด้วยเหตุนี้เองทำให้น้ำมีอุณหภูมิสูงขึ้น ภายใต้ความดันใต้พื้นผิวโลกจนทำให้เกิดปรากฏการณ์ไกเซอร์ที่ปลดปล่อยกระแสน้ำรุนแรง ร่วมกับไอน้ำออกมาได้
 
== '''ลักษณะและการทำงาน''' ==
 
ไกเซอร์เป็นลักษณะทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นชั่วคราว โดยอายุของไกเซอร์จะมีอายุเพียงไม่กี่พันปีเท่านั้น ไกเซอร์โดยปกติแล้วมักเกิดบริเวณร่วมกับ[[ภูเขาไฟ]] ในขณะที่น้ำเดือด ผลจากแรงดันทำให้ดันน้ำขึ้นมาตามท่อนำส่งน้ำพุร้อนขึ้นมาตามแนวดิ่งสู่ผิวโลก รูปแบบของไกเซอร์จะมีลักษณะ 3 ประการทางธรณีวิทยาที่มักพบภูมิประเทศที่มี[[ภูเขาไฟ]]ร่วมด้วย ดังนี้
เส้น 34 ⟶ 35:
# Fountain geysers จะประทุออกมาจากสระน้ำ
# Cone geysers จะปะทุออกมาจากกรวยที่ปล่อยน้ำออก
 
 
 
 
 
 
 
 
== '''ไกเซอร์ในระบบสุริยะจักรวาล''' ==
เส้น 46 ⟶ 40:
[[ไฟล์:Voyager_2_Triton_14bg_r90ccw_colorized.jpg|left|thumb|ไกเซอร์บนดวงจันทร์ของดาวเนปจูน ชื่อ Triton]]
ไกเซอร์จะไม่ค่อยพบในดวงดาวอื่นๆ ใน[[ระบบสุริยะ]] อย่างไรก็ตามก็พบปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาที่คล้ายๆ กับไกเซอร์ที่[[ดวงจันทร์]]ของโลก และของ[[ดาวจูปิเตอร์]] โดยลักษณะที่พบจะมีการระเบิดของน้ำเย็นและมี[[แก๊ส]]ออกมาตามท่อนำส่งน้ำ โดย Tritron ซึ่งเป็นดวงจันทร์ของ[[ดาวเนปจูน]] และ Enceladus ซึ่งเป็นดวงจันทร์ของ[[ดาวเสาร์]]ก็เกิดปรากฏการณ์นี้เช่นเดียวกัน ในบางครั้งเรียกว่า “Cryovolcanoes”
 
{{ต้องการ== อ้างอิง}} ==
* Schreier, Carl (2003). Yellowstone's geysers, hot springs and fumaroles (Field guide) (2nd ed.). Homestead Pub. ISBN 0-943972-09-4
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons|Geyser}}
 
{{เรียงลำดับ|กไเซอร์ (ธรณีวิทยา)}}
 
[[หมวดหมู่:ธรณีสัณฐานภูเขาไฟ]]