ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักเขียน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
SieBot (พูดคุย | หน้าที่เขียน | บล็อก) 18:00, 12 พฤษภาคม 2553
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Stamp Anton Chekhov.jpg|228px|right|]]
'''นักเขียน''' คือผู้ที่สร้างงาน[[การเขียน|เขียน]] อย่างไรก็ตามคำนี้มักใช้เฉพาะกับผู้ที่เขียนงานสร้างสรรค์หรือเป็นอาชีพ หรือผู้ที่ได้สร้างงานเขียนในลักษณะอื่น ๆ นักเขียนที่มีความชำนาญจะแสดงความสามารถในการใช้[[ภาษา]]เพื่อที่จะนำเสนอแนวคิดและภาพพจน์ ไม่ว่าจะเป็นการเขียน[[บันเทิงคดี]]หรือ[[สารคดี]]
หรือ ความหมายของนักเขียนแบบเข้าใจง่ายๆคืออาชีพนักเขียน คืออาชีพที่รังสรรค์
ผลงานการเขียน ที่ถ่ายทอดมาจากประสบการณ์ ความนึกคิด จิตวิญญาณ และการนำเสนอ
ชีวิตจริง ผ่านตัวละครอันเป็นอุทาหรณ์ให้กับนักอ่านได้สัมผัสถึงแก่นแท้ของ
นิยายแต่ละเรื่อง
 
นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น [[บทกวี]] เช่น บทกวีแคนโต้ ของ [[ฟ้า พูลวรลักษณ์]] [[ร้อยกรอง]] [[ร้อยแก้ว]] [[เรื่องสั้น]] [[นวนิยาย]] [[บทละคร]] นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น [[กวี]] [[นักเขียนเรื่องสั้น]] [[นักเขียนนวนิยาย]] [http://www.th.wikipedia.org/wiki/ซีไรท์[นักเขียนบทละคร]] [[นักแต่งเพลง]] [[นักหนังสือพิมพ์]]เป็นต้น
 
นักเขียนอาจสร้างผลงานในรูปแบบต่าง ๆ เช่น [[บทกวี]] เช่น บทกวีแคนโต้ ของ [[ฟ้า พูลวรลักษณ์]] [[ร้อยกรอง]] [[ร้อยแก้ว]] [[เรื่องสั้น]] [[นวนิยาย]] [[บทละคร]] นักเขียนที่ทำงานเฉพาะมักได้รับการเรียกแตกต่างกัน เช่น [[กวี]] [[นักเขียนเรื่องสั้น]] [[นักเขียนนวนิยาย]][http://www.th.wikipedia.org/wiki/ซีไรท์]
== ประโยชน์ของอาชีพนักเขียน ==
อาชีพนี้น่าจะเรียกได้ว่าเป็น "ศิลปิน" แขนงหนึ่งได้ เพราะเป็นอาชีพที่ต้องอิสระมากๆ ใครจะมาสั่งหรือบังคับให้เขียนโน่นเขียนนี่โดยที่เราไม่ชอบคงจะทำได้ยากมาก งานเขียนเป็นอาชีพที่มีข้อดีหลายอย่าง เช่น ทำงานที่ไหนก็ได้ ทำเมื่อไหร่ก็ได้ ใส่ชุดอะไรทำก็ได้ จะทำหรือจะหยุดทำเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่ต้องยุ่งกับคนอื่นมากนัก นั่งทำคนเดียวก็ได้ นอกจากนี้ผลงานการเขียนเป็นมรดกตกทอดให้ลูกให้หลานได้ ผลงานอยู่ได้นาน สร้างความภูมิใจแบบมีหลักฐานยืนยัน ไม่เหมือนเราบอกใครต่อใครว่าเราเคยภูมิใจกับเหตุการณ์นั้นกับเหตุการณ์นี้ที่ได้ยินแต่คำพูด แต่ผลงานเขียนหนังสือสามารถนำออกมาโชว์ ออกมาอวดให้คนอื่นเห็นได้ ถ้าผลงานเขียนขายดี ก็จะมีชื่อเสียงติดตามมา โดยไม่ต้องปรากฏตัวต่อสาธารณชนก็ได้
 
== ข้อเสียของอาชีพนักเขียน ==
ถึงจะมีข้อดีในเรื่องความอิสระ แต่ข้อเสียคือถ้าขายงานไม่ได้ก็จะไม่ได้เงิน และถึงจะสามารถเลือกว่าจะเขียนหรือไม่เขียนตอนไหนก็ได้ก็จริง แต่การเขียนงานมักจะต้องใช้เวลานาน หากไม่บริหารเวลาให้ดีก็จะเป็นดังประโยคที่ว่า "นักเขียนไส้แห้ง" (นักเขียนบางคนอาจไม่เป็นอย่างนั้นถ้ามีชื่อเสียงในระดับหนึ่ง ดังนั้นการส่งงานประกวดตามที่ต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นอย่างมาก) นักเขียนหลายคนทำงานหนักกว่าพนักงานบริษัท เพราะพนักงานทำงานวันละ 8 ชั่วโมง แต่นักเขียนบางคนทำงานถึงวันละ 15 ชั่วโมง
 
== รายได้ของอาชีพนักเขียน ==
นักเขียนมีการแบ่งการได้รายได้เป็น 4 ประเภท
 
1)แบบเหมาจ่าย - มักจะเกิดขึ้นกับวรรณกรรมเฉพาะกลุ่ม หรือนักเขียนหน้าใหม่ที่ยังไม่มีชื่อเสียง แบบนี้คือการเหมาไปทีเดียวเลย เช่น นักเขียนได้เงิน 20,000 บาท แต่สำนักพิมพ์จะพิมพ์กี่เล่มก็ได้ภายในระยะเวลา 5 ปี
 
2)แบบซื้อขาด - มักจะเป็นบ่อยกับเรื่องสั้น หรือนักเขียนหน้าใหม่ที่ยังไม่มีชื่อเสียง แบบนี้คือการซื้อลิขสิทธิ์ผลงานชิ้นนั้นไปเลย เช่น นักเขียนได้เงิน 30,000 บาท แต่ได้ครั้งเดียว และลิขสิทธิ์ของหนังสือเล่มนั้น หรือเรื่องสั้นเรื่องนั้นตกเป็นของสำนักพิมพ์ตลอดไป นักเขียนไม่มีสิทธิ์อะไรในงานชิ้นนั้นอีก สำนักพิมพ์จะเอาไปแก้ไข ปรับปรุง หรือทำอะไรก็ได้
 
3)แบบคิดเป็นเปอร์เซ็นจากราคาหนังสือ ส่วนมากมักจะได้ที่ 10% ของราคาหนังสือ แต่ถ้าเป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงมาก อาจจะเพิ่มให้เป็น 12% 14% 15% แล้วแต่สำนักพิมพ์เช่น การคิดแบบเปอร์เซ็นนี้สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทย่อย คือ
3.1)คิดจากจำนวนหนังสือที่พิมพ์ โดยทั่วไปหนังสือหนึ่งเล่ม พิมพ์ครั้งละ 3,000 เล่ม สมมุติเล่มละ 150 บาท (3000 คูณ 150 แล้วหาร 100 คูณด้วย 10 | หรือ 3000 คูณ 150 คูณ 10% = 45,000) ประเทศไทยส่วนมากคิดแบบนี้
3.2)คิดจากจำนวนหนังสือที่ขายได้ เช่นขายได้ 200 เล่ม สมมุติเล่มละ 150 บาท (200 คูณ 150 แล้วหาร 100 คูณด้วย 10| หรือ 200 คูณ 150 คูณ 10%= 3,000) ประเทศอินเดียส่วนมากคิดแบบนี้
 
4)แบบจ้างเป็นรายเดือน ถ้าเป็นนักเขียนที่มีผลงานออกมาสม่ำเสมอ และมีชื่อเสียงในระดับหนึ่งหรือมาก สำนักพิมพ์ก็จะจ้างเป็นรายเดือน ในประเทศไทยนักเขียนที่สำนักพิมพ์จ้างในลักษณะนี้มีจำนวนน้อยมาก
 
==คุณลักษณะของนักเขียน==
นักเขียนไม่จำเป็นต้องกำหนดอายุ เพียงแต่ต้องอาศัยการใช้ภาษาในการสื่อถึงอารมณ์ของตัวละครในเนื้อเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะการเขียนที่เป็นแนวสารคดีจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นก่อน ไม่ใช่เขียนไปมั่วๆโดยไม่ยึดหลักความรู้ใดๆเลย องค์ความรู้พื้นฐานและข้อมูลดิบจึงถือเป็นองค์ประกอบสำคัญยิ่งสำหรับการเป็นนักเขียนที่ดี เพราะถ้าผู้เขียนไม่รู้จริงอาจเป็นสาเหตุเริ่มต้นทำให้ผู้อ่านนำความรู้เรื่องนั้นไปใช้ในทางผิดหรือเสียหายก็เป็นได้ การเป็นนักเขียนในเมืองไทยจะว่ายากก็ไม่ใช่ แต่จะว่าง่ายก็ไม่เชิง ที่สำคัญและยากยิ่งกว่าการเป็นนักเขียนในเมืองไทยคือ การทวงค่าเรื่องและหรือ ค่าลิขสิทธิ์ จัดเป็นขั้นตอนที่ยากที่สุดของการเป็นนักเขียนเลยก็ว่าได้ ส่วนการเขียนนิยายจัดเป็นศาสตร์และศิลป์ ที่ต้องอาศัยชั้นเชิง และจินตนาการมากมาย บางคนอาจเขียนได้ชาติละเล่ม พอเขียนแล้วรู้ว่าจนก็เลยเลิก แบบนี้ ไม่เรียกว่าเป็น[[นักเขียน]]แท้ อย่างนักเขียนในวิกิพีเดีย ก็น่าสงสาร ปากบอกว่าทำงานเพื่ออุดมการณ์ แต่ก็คอยจับผิดคนอื่น พวกตัวเองดีเลิศวิเศษเหลือเกิน รับเงินใต้โต๊ะ แต่ก็บอกว่าไม่ ทุกอย่างต้องมีอ้างอิง ค้นคว้าเองไม่เคยเป็น ใครที่ไม่ใช่พรรคพวกตัวเอง เข้ามาเขียนก็คอยกระแหนะกระแหนจับผิดไปหมด แต่ถ้าเป็นพวกตัวเอง ประวัติแสนจะดีเลิศเลอเพอร์เฝ็ค แต่เที่ยวประกาศว่าเที่ยงตรง ต้องการอ้างอิง ไม่มีอคติ แต่ที่ทำอยู่ทั้งหมดน่ะ ใช่เลย นี่ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่ทำให้วงการนักเขียนไทย ไม่พัฒนาไปไหนสักที มีไหมที่นักเขียนไทยจะได้รางวัลโนเบล ขนาดซีไรท์ยังซื้อกันได้ คนนอกวงการต่างหากที่ไม่รู้ ถ้าเที่ยงตรงและเป็นธรรมจริง ต้องยอมให้เขียนแบบเสรีในทุกเรื่อง ไม่ใช่เซนเซอร์ แล้วก็บล็อคโน่น นี่นั่น ใครไม่ใช่ทีมตัวก็กล่าวหาเขา แบบนี้แหละที่เป็นการคดโกงและคอร์รัปชั่นในวงการการศึกษา ถ้าเก่งจริง ต้องมีรูป ใช้ชื่อจริงตามบัตรประจำตัวประชาชน ไม่ใช่เอาไอคอนสัตว์ประหลาดมา แต่ปากบอกว่าเสรี เราว่ายุบเถอะ วิกิพีเดียไทย นอกจากไร้ความจริงใจแล้ว เห็๋นได้ชัดว่า ทำร้ายวงการวรรณกรรม กันเองเปล่าๆ คนอ่านเขาก็รู้สึก เพราะ ไม่ใช่วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีดอก แต่เป็นเว็ปโปรโมท ดารา นักร้อง และราชวงค์มากกว่า นักเขียนต้องกล้าคิดกล้าเขียนกล้าพูด ยกย่องคนที่ควรยกย่อง ข่มคนที่ควรข่ม ทำเป็นสงสัยคนโน้นคนนี้ ชุมชนวิกิพีเดียเอง เคยตรวจสอบตัวเองไหม แค่เรื่องวัดธรรมกาย ก็กล้าเอาให้ลง ทำไมไม่บล็อคล่ะ ในเมื่อมอมเมาสังคมและเยาวชน สอนผิดหลักการพระพุทธศาสนา อย่าบอกนะว่าไม่ได้เกรงอิทธิพล กล้ายอมรับไหมว่า รางวัลเกือบทุกรางวัลในเมืองไทย ยิ่งมีเรื่องเงินมาเกี่ยวข้อง ไม่มีการเล่นพรรคเล่นพวกเล่นเส้นสนกลใน อาทิ ซีไรท์ หรือแม้แต่รางวัลศิลปาธร รางวัลศิลปินแห่งชาติ ถ้าวิกิพีเดียบอกว่าอยากได้หลักฐานอ้างอิง จะไปหามาจากไหน เพราะกระทรวงวัฒนธรรมเองนั่นแหละคอร์รัปชั่น แม้กระทั่งหนังสือนามานุกรมนักเขียน รับประทานกันไปเป็นสิบล้านบาท อย่าเอาเรื่องไอพีมาขู่ ไม่กลัวหรอก เพราะเป็นเรื่องจริงทั้งนั้น คิดว่าใครต่อใครก็ [[นาธาน โอมาน]] หรือ [[ทักษิณ ชินวัตร]] กันหมดหรือ ลองเอาสมองตรองดู
 
[[ว.วินิจฉัยกุล]]ไปลอกเรื่องราววรรณกรรมเยาวชนของเมืองนอกมาเป็นเรื่อง [[ลินลาน่ารัก]] กรรมการกระทรวงศึกษาธิการก็หลับหูหลับตาให้รางวัลกันไป จนนักอ่านเขาจับได้ นักเขียนก็ใช้ความเป็นคุณหญิงและความมีอิทธิพลสั่งลบเว็ปที่ลงเรื่องราวนี้จนหมด แล้วนี่หรือคือความยุติธรรม นี่หรือคือ ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ไม่สงสัยเลยว่า ทำไม หนังสือ 501 Great Writer จึงไม่มีชื่อของนักเขียนไทยเลยแม้แต่คนเดียว รางวัลโนเบล ไม่ต้องพูดถึง
 
ลองหาอ่านหนังสือ the King Never Smile ดู ขนาดคิงของเมืองไทย เอ่ยปากขอรางวัลโนเบล ขอให้ใครให้ไปอ่านดู คิงสวีเดนยังให้ไม่ได้เลย ความยิ่งใหญ่ เขาวัดกันได้ตั้งแต่ยังมีชีวิตแล้ว ไม่ใช่ตายแล้วให้ใครไม่รู้มาโมเมประวัติให้ เจ้าตัวมีแรงเขียนเองเป็น Autobiography ดีแค่ไหนแล้ว
 
ดังนั้น ถ้านี่คือหัวข้อวรรณกรรม ที่วิกิพีเดียไทย ชอบอ้างว่า เป็นกลาง เป็นธรรม แน่จริงอย่าลบ เราคนเขียน รู้เทคนิคทางคอมพิวเตอร์น้อย ใส่อ้างอิงไม่เป็น แต่บอกขนาดนี้แล้ว หาอ่านเองไม่ได้ก็ไม่รู้จะว่ายังไงแล้ว
 
ระวังเถอะ ทำแบบทุกวันนี้ ต่อไป วิกิพีเีดียไทย ก็จะไม่ต่างอะไรไปจากรางวัลซีไรท์ นั่นแหละ ที่ไม่มีใครเชื่อถืออีกแลัวนอกจากครูภาษาไทยรุ่นไดโนเสาร์เต่าล้านปี
 
กรุณา อย่าขู่เรื่องไอพี เพราะถ้าเสรี ต้องยอมรับความจริง และเอาความจริงมาพูดกัน ไม่มีวิกิพีเดีย บุคคลสาธารณะ ที่เขาเก่งจริงก็มีสื่ออื่นๆที่จะนำไปลงเพื่อนำเสนอ จนบัดนี้ ดร.อภิวัฒน์ วัฒนางกูร ตายห่าไปตั้งนานแล้ว ยังไม่เอาประวัติเขามาลงเลย นี่หรือ เสรี เอ๊ะ หรือ [[เสรี วงษ์มณฑา]]
 
สารานุกรมเสรีต้องเปิดกว้าง ไม่ใช่ว่า ไม่ใช่คนดูแลหรือพรรคพวกตัวที่มีอิทธิพลก็ล็อคก็บล็อค ขนาดรางวัลหนังสือต่างประเทศ เขายังมีแพคเกจขายเลย ลองเบิ่งตาดูเว็ปอะเมซอน เว็ปที่ได้มาตรฐานกันบ้าง อย่าเล่นพรรคเล่นพวกจนน่าเกลียด ลองเปรียบเทียบประวัติของ [[แอน ทองประสม]]กับ[[วาณิช จรุงกิจอนันต์]] ดู แล้วคุณจะเห็นความแตกต่าง
 
อย่าลืม ผู้ชนะคือคนเขียนประวัติศาสตร์ ถ้าแน่จริงอย่าลบ เพราะนี่คือสารานุกรมเสรีที่ใครก็สามารถแก้ไขได้ แต่ต้องมีพื้นฐานทางคอมพิวเตอร์ดีพอสมควร หรือจะเถียง บันทึกโดยนักเขียนชื่อดังคนหนึ่งที่ถูกบล็อคประวัติของตัวเอง ด้วยอคติและทีมงานของวิกิพีเดียไทย ให้มันรู้ไปว่า ไม่มีวิกิพีเดียแล้ว เขาคนนั้นจะต้องตาย เป็นนักเขียนไม่ได้ เพราะทองเนื้อเก้า ถูกไฟเผาย่อมเป็นทอง ไม่ใช่ [[นาธาน โอมาน]] นั่นมันทองประสาทแดก
 
{{commonscat|Writers}}
 
อาชีพนี้น่าจะเรียกได้ว่าเป็น "ศิลปิน" แขนงหนึ่งได้ เพราะเป็นอาชีพที่ต้องอิสระมากๆ ใครจะมาสั่งหรือบังคับให้เขียนโน่นเขียนนี่โดยที่เราไม่ชอบคงจะทำได้ยากมาก งานเขียนเป็นอาชีพที่มีข้อดีหลายอย่าง เช่น ทำงานที่ไหนก็ได้ ทำเมื่อไหร่ก็ได้ ใส่ชุดอะไรทำก็ได้ จะทำหรือจะหยุดทำเมื่อไหร่ก็ได้ ไม่ต้องยุ่งกับคนอื่นมากนัก นั่งทำคนเดียวก็ได้ นอกจากนี้ผลงานการเขียนเป็นมรดกตกทอดให้ลูกให้หลานได้ ผลงานอยู่ได้นาน สร้างความภูมิใจแบบมีหลักฐานยืนยัน ไม่เหมือนเราบอกใครต่อใครว่าเราเคยภูมิใจกับเหตุการณ์นั้นกับเหตุการณ์นี้ที่ได้ยินแต่คำพูด แต่ผลงานเขียนหนังสือสามารถนำออกมาโชว์ ออกมาอวดให้คนอื่นเห็นได้ ถ้าผลงานเขียนขายดี ก็จะมีชื่อเสียงติดตามมา โดยไม่ต้องปรากฏตัวต่อตัวสาธารณชนก็ได้
{{โครงนักเขียน}}
 
[[หมวดหมู่:อาชีพ]]
[[หมวดหมู่:นักเขียน| ]]
{{โครงนักเขียน}}
 
[[af:Skrywer]]
[[als:Schriftsteller]]
[[an:Escritor]]
[[ar:كاتب]]
[[az:Yazıçı]]
[[bar:Schriftstella]]
[[bcl:Parasurat]]
เส้น 93 ⟶ 51:
[[lb:Schrëftsteller]]
[[lmo:Scritur]]
[[lv:Rakstnieks]]
[[mhr:Серызе]]
[[mr:लेखक]]
เส้น 99 ⟶ 56:
[[nah:Tlahcuilōni]]
[[nds:Schriever]]
[[nl:Schrijver]]
[[nn:Skribent]]
[[no:Skribent]]
เส้น 118 ⟶ 74:
[[ur:مصنف]]
[[uz:Yozuvchi]]
[[vi:Nhà văn]]
[[yi:שרייבער]]
[[zh:作]]