ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การระเหย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
Tinuviel (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Watervapor cup.jpg|thumb|200px|น้ำในถ้วยชาระเหยกลายเป็นไอ และรวมตัวบนกระจก]]
'''การระเหย''' ({{lang-en|Evaporation}}) คือ กระบวนการที่[[ของเหลว]] เช่น [[น้ำ]]เปลี่ยนสภาพโดยธรรมชาติเป็น[[แก๊ส]] โดยไม่จำเป็นต้องมี[[อุณหภูมิ]]ถึง[[จุดเดือด]] โดยเป็นกระบวนการตรงกันข้ามกับ[[การควบแน่น]] โดยทั่วไปเราสามารถรับรู้ถึงการระเหยได้ โดยดูจากน้ำที่ค่อยๆ หายไปทีละน้อย เมื่อมันกลายตัวเป็นไอน้ำ
 
== ทฤษฎี ==
การที่[[โมเลกุล]]ของของเหลวจะระเหยได้จะต้องเป็นโมเลกุลที่อยู่บนพื้นผิว, อยู่ในทิศทางที่เหมาะสม และมี[[พลังงานจลน์]]ภายในมากพอที่จะเปลี่ยนสภาวะจากของเหลวเป็นแก๊ส เนื่องจากการระเหยจะต้องเกิดบนพื้นผิวด้านบนจึงทำให้อัตราการเกิดการระเหยจึงมีน้อย ซึ่งการที่โมเลกุลจะมีพลังงานจลน์ได้ก็ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของมัน กระบวนการระเหยจะเกิดเร็วขึ้นเมื่ออยู่ในอุณหภูมิที่สูง เมื่อโมเลกุลได้กระจายตัวออกไปกับการระเหย โมเลกุลที่เหลือจะมีพลังงานจลน์โดยเฉลี่ยลดลงเรื่อยๆ และอุณหภูมิจะลดลงตามไปด้วย ปรากฏการเช่นนี้เรียกว่า การเย็นลงโดยการระเหย ร่างกายมนุษย์ก็เช่นกัน ที่ใช้[[เหงื่อ]]ช่วยในการลดอุณหภูมิ
 
{{สถานะของสสาร}}
[[หมวดหมู่:สถานะของสสาร]]
{{โครงวิทยาศาสตร์}}