ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รอเบิร์ต พีล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: be-x-old:Робэрт Піл
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
| death_date = [[2 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2393]] (62 ปี)
| death_place = [[กรุงลอนดอน]] [[อังกฤษ]]
| party = [[กลุ่มทอรี]] <br /> [[พรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยม]]
| spouse = [[จูเลีย พีล]]
| religion = [[คริสต์]]
บรรทัด 23:
|}}
 
'''เซอร์ โรเบิร์ต พีล''' (The Rt. Hon. Sir Robert Peel, Second Baronet Peel) เป็นนักการเมืองแห่ง[[สหราชอาณาจักร]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึ่งเป็น[[นายกรัฐมนตรี]]ถึงสองสมัย ในปี พ.ศ. 2377-8 และ พ.ศ. 2384-9 มีชื่อเสียงจากผลงานหลายด้าน อาธิเช่น การก่อตั้งหน่วย[[ตำรวจนครบาล]]ใน[[ลอนดอน]] การวางรากฐาน[[พรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยม (สหราชอาณาจักร)|พรรคอนุรักษนิยม]]ในอังกฤษ และการยกเลิก[[กฎหมายอากรข้าวโพด]]ซึ่งเป็นการวางรากฐานสำคัญในระบบ[[การค้าเสรี]]ในปัจจุบัน
 
== ชีวิตในวัยหนุ่ม ==
บรรทัด 49:
* รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย - เฮนรี โกลเบิร์น
 
เนื่องจากพีลมีเสียงข้างน้อยในสภา จึงทำให้ทำงานได้ลำบาก เขาจึงประกาศยุบสภาให้มีการเลือกตั้งใหม่ในเดือนมกราคม 2378 ในการเลือกตั้งนี้พีลได้ออกจดหมายเปิดผนึกสำคัญถึงผู้มีสิทธิในเขตของเขา โดยรายละเอียดของจดหมาย ''Tamworth Manifesto'' นี้ได้กล่าวถึงการปรับปรุงการหลักการของกลุ่มทอรีใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของระบบการเลือกตั้ง โดยพีลได้นำแนวคิดหลักจาก[[เอ็ดมุนด์ เบิร์ก]]ว่าการอนุรักษ์ที่ถูกต้องนั้นต้องยอมให้มีการเปลี่ยนแปลงบ้างเพื่อเป็นพัฒนาการไม่เช่นนั้นแล้วจะทำให้เกิดการต่อต้านอันรุนแรงจนเราไม่สามารถอนุรักษ์สิ่งนั้นไว้ได้อีกต่อไป การปรับปรุงครั้งทำให้กลุ่มทอรีซึ่งมีแนวคิดค่อนข้างออกแนวค้านหัวชนฝาอ่อนลงอย่างมาก โดยนักประวัติศาสตร์จึงถือจุดนี้เป็นจุดกำเนิดของ[[พรรคอนุรักษ์นิยม]]อนุรักษนิยมในอังกฤษ
 
[[ไฟล์:Queen_Victoria_1887.jpg‎|thumb|150pxthumb|150px|right|พระนางเจ้าวิคตอเรีย]]แม้ว่าการเลือกตั้งจะทำให้พรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมได้คะแนนเสียงเพิ่มขึ้นแต่ก็ยังไม่พอที่จะได้เสียงข้างมากในสภาฯ แต่การแบ่งกลุ่มกันในฝ่ายค้านทำให้พีลยังคงทำงานในฐานะนายกรัฐมนตรีได้ต่อไป อย่างไรก็ดีได้มีการทำข้อตกลงกันในกลุ่มฝ่ายค้านที่บ้านลิชฟิลด์ (Lichfield House Compact) ทำให้พีลไม่สามารถทำงานได้อีกตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์ เขาจึงลาออกในวันที่ 8 เมษายนปี 2378 กลุ่มฝ่ายค้านจัดตั้งรัฐบาลใหม่โดยมีเมลเบิร์นเป็นนายกรัฐมนตรี
 
เมลเบิร์นลาออกจากตำแหน่งในเดือนพฤษภาคม 2482 พีลได้รับการเสนอให้จัดตั้งรัฐบาล เขาตระหนักดีว่านี่จะเป็นรัฐบาลเสียงข้างน้อยอีกครั้งเขาจึงเสนอให้[[พระนางเจ้าวิคตอเรีย]]ปลดนางสนองพระโอษฐ์ของพระองค์ซึ่งเป็นคนของกลุ่มวิค พระนางปฏิเสธ พีลจึงไม่ยอมรับตำแหน่งโดยเกรงว่ารัฐบาลจะไร้เสถียรภาพ ก่อให้เกิดช่วงว่างของรัฐบาล (Bedchamber Crisis) วิคตอเรียจึงต้องให้เมลเบิร์นกลับมาตั้งรัฐบาลเหมือนเดิม
 
== นายกรัฐมนตรีครั้งที่สอง ==
เมลเบิร์นยุบสภาในปี 2384 ผลจากการเปลี่ยนแปลงภายในของพรรคในชวงหกปีก่อนหน้าทำให้พรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น พีลจัดตั้งรัฐบาลและเป็นนายกรัฐมนตรีสมัยที่สอง โดยมีตำแหน่งสำคัญดังต่อไปนี้
 
* นายกรัฐมนตรี - เซอร์ โรเบิร์ต พีล
บรรทัด 75:
ในฤดูใบไม้ร่วง 2388 เกิดเหตุโรคระบาดในมันฝรั่งในไอร์แลนด์ ทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวมันฝรั่งซึ่งเป็นอาหารหลักของชาวไอริชได้กว่า 60% ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการขาดแคลนอาหารอย่างหนักในไอร์แลนด์ซึ่งสุดท้ายแล้วทำให้มีผู้เสียชีวิตเนื่องจากอดอาหารและโรคอหิวาต์ซึ่งเป็นผลข้างเคียงจากการพยายามเอาชีวิตรอดด้วยการรับประทานทุกอย่างที่สามารถหาได้กว่าหนึ่งล้านคน ซึ่งคิดเป็นประมาณหนึ่งในแปดของประชากรทั้งหมดในไอร์แลนด์ในขณะนั้น รัฐบาลของพีลจึงตอบสนองด้วยการสั่งซื้อข้าวโพดมูลค่าหนึ่งแสนปอนด์มาจากอเมริกาเพื่อใช้เป็นอาหารทดแทนแต่ในขณะนั้น รัฐบาลของสหราชอาณาจักรมีกฎหมายเก็บอากรข้าวโพดที่นำเข้า จึงทำให้รัฐบาลต้องซื้อข้าวโพดในราคาที่แพงขึ้น พีลเองเห็นว่าไม่เป็นการดีที่จะต้องให้การช่วยเหลือส่วนนี้ตกเป็นภาระของประชาชนจึงมีความคิดที่จะยกเลิกอากรข้าวโพดเสีย
 
[[ไฟล์:Richard_Cobden.gif‎|thumb|150pxthumb|150px|left|ริชาร์ด ค็อบเดน]]ในเมืองมกราคม 2389 พีลจึงเสนอให้มีการยกเลิกอากรข้าวโพด โดยค่อยๆลดอัตราอากรไปเรื่อยๆเป็นเวลาสามปีจนหมดในปี 2392 การประกาศครั้งนี้ก่อให้เกิดการแตกแยกครั้งใหญ่ในพรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยม โดยกลุ่มที่ได้รับการสนับสนุนจากชาวไร่นั่นไม่ต้องการให้มีการยกเลิกเนื่องจากต้องการปกป้องอาชีพของชาวไร่ซึ่งจะต้องพบกับปัญหาถ้าหากต้องแข่งราคากับข้าวโพดที่มีราคาถูกกว่าจากทางอเมริกา กลุ่มนี้นำโดย ลอร์ดจอร์จ เบนทิงค์ ดยุคแห่งบัคกิ้งแฮมเชียร์ และ [[เอิร์ลแห่งดาร์บี|ลอร์ดสแตนลีย์]] กับ [[เบนจามิน ดิสราเอลี]] ซึงภายหลังจากได้เป็นนายกรัฐมนตรีของอังกฤษ ส่วนอีกฝ่ายของพรรคซึ่งนำโดย เซอร์เจมส์ เกรแฮม เอ็ดเวิร์ด คาร์ดเวล และ [[เอิร์ลแห่งอะเบอร์ดีน]] กับ [[วิลเลียม แกลดสตัน]] ซึ่งในอนาคตจะได้เป็นนายกรัฐมนตรีเช่นกัน
 
แม้ว่าครึ่งหนึ่งของรัฐบาลจะต่อต้านการยกเลิก พีลก็สามารถนำร่างพระราชบัญญัติผ่านสภาผู้แทนฯไปได้ด้วยการสนันสนุนจากฝ่ายค้าน ทั้งกลุ่มวิกซึ่งนำโดย [[เอิร์ลรัสเซล|ลอร์ดจอห์น รัสเซล]] กับ [[ไวเคานท์พาลเมอร์สตัน]] สองอนาคตนายกรัฐมนตรี และกลุ่มแมนเชสเตอร์สกูลซึ่งนำโดย ริชาร์ด ค็อบเดน กับ จอห์น ไบรท์ ผู้มีชื่อเสียงจากการรณรงค์สนับสนุนระบบการค้าเสรีและเป็นผู้นำของสันนิบาตต่อต้านอากรข้าวโพด (Anti-Corn Law League) มาพักหนึ่งแล้ว ดังนั้นร่างฯจึงผ่าน[[สภาสามัญ]]ไปได้ด้วยคะแนนเสียง 327 ต่อ 229 ในวันที่ 15 พฤษภาคม 2389 และยังสามารถผ่าน[[สภาขุนนาง]]ไปได้ด้วยความช่วยเหลือจากเจ้านายเก่าของพีลอย่างเวลลิงตันในวันที่ 25 มิถุนายน 2389
บรรทัด 84:
 
=== ลาออกจากตำแหน่ง ===
แม้ว่าพรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมของพีลจะแตกออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ พีลก็สามารถยกเลิกอากรข้าวโพดได้สำเร็จด้วยคะแนนจากฝ่ายค้าน อย่างไรก็ตามพีลไม่โชคดีนักในการลงคะแนนเสียงผ่านร่างกฎหมายความปลอดภัยในไอร์แลนด์ (Irish Protection of Life Bill) ในช่วงค่ำวันเดียวกันนั้นเอง โดยร่างได้รับคะแนนเสียง 219 ต่อ 292 โดยที่กลุ่มฝ่ายค้ายกลับไปลงคะแนนต่อต้านอีกครั้ง ในขณะที่ครึ่งหนึ่งของรัฐบาลก็ลงเสียงไม่เห็นด้วยเช่นกัน พีลถือเหตุการณ์นี้เป็นคะแนนเสียงไม่ไว้วางใจเขาจึงรอจนกฎหมายยกเลิกอากรข้าวโพดสามารถผ่ายสภาขุนนางไปก่อน และลาออกในวันที่ 29 มิถุนายน 2389 [[เอิร์ลรัสเซล|ลอร์ดจอห์น รัสเซล]]นำกลุ่มวิกตั้งรัฐบาลเสียงข้างน้อยเป็นนายกรัฐมนตรีคนต่อไป
 
== บั้นปลายชีวิต ==
[[ไฟล์:Gladstone.jpg‎|thumb|150pxthumb|150px|right|วิลเลียม แกลดสตัน]]
หลังจากพีลลงจากนายกรัฐมนตรีพรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมยังคงแตกเป็นสองส่วนต่อไป ส.ส.กลุ่มพีไลท์ เช่น เกรแฮม อะเบอร์ดีน และแกลดสตัน ยังคงติดตามพีลอย่างใกล้ชิดและยึดมั่นนโยบายอนุรักษ์นิยมแต่สนับสนุนระบบการค้าเสรี อีกกลุ่มหนึ่ง เช่น เบนทิงค์ และดิสราเอลี นั้นคงนโยบายอนุรักษ์หัวชนฝาต่อและยังมีความบาดหมางเป็นส่วนตัวกับพีลอีกด้วย ในระยะการเป็นฝ่ายค้านพีลทำหน้าที่ ส.ส. อย่างต่อเนื่องและยังได้นำกลุ่มพีไลท์ลงคะแนนเสียงช่วยฝ่ายรัฐบาลอีกในหลายๆกรณี อย่างไรก็ตาม แม้ว่ารัสเซลจะเสนอให้เขาเข้าร่วมรัฐบาลกับกลุ่มวิก ในปี 2392 พีลปฏิเสธและทำหน้าที่เป็นฝ่ายค้านต่อไป
 
วันที่ 29 มิถุนายน 2393 พีลได้รับอุบัติเหตุตกจากหลังม้าในระหว่างการขี่ขึ้นคอนสติติวชั่นฮิลล์ในลอนดอน พีลได้รับบาดเจ็บหนักเนื่องจากถูกม้าซึ่งตกใจเหยียบทับบนร่างของเขา พีลถึงแก่อสัญกรรมในอีกสามวันถัดมาในขณะที่เขามีอายุ 62 ปี
 
หลังจากการถึงแก่อสัญกรรม กลุ่มพีไลท์ยังคงเป็นอิสระต่อพรรคอนุรักษ์นิยมอนุรักษนิยมต่อไปโดยการนำของ เซอร์ เจมส์ เกรแฮม และในปี 2395 กลุ่มพีไลท์ยังได้จัดตั้งรัฐบาลโดยการนำของเอิร์ลแห่งอะเบอร์ดีน ในระหว่างนี้สมาชิกหลายคนกลับเข้าสู่พรรคอนุรักษนิยมอีกครั้ง แต่กลุ่มพีไลท์อยู่ไปจนถึงปี 2401 เมื่อแกนนำของกลุ่มอย่างอะเบอร์ดีนและแกลดสตันไปร่วมกับกลุ่มวิกและแนวร่วมหัวรุนแรงตั้งพรรคเสรีนิยมโดยมีหัวหน้าพรรคคือไวเคานท์พาลเมอร์สตันซึ่งก้าวขึ้นจัดตั้งรัฐบาลในปีถัดมา
 
จูเลีย พีล ภรรยาของเขาถึงแก่กรรมในปี 2402 ลูกชายของเขาสี่คนได้ก้าวเข้าสู่สนามการเมือง โดยลูกชายคนที่ห้าของเขายังได้รับการแต่งตั้งเป็นไวเคานท์พีลในปี 2438 ส่วนอีกสามคนยังได้รับการแต่งตั้งเป็นท่านเซอร์อีกด้วย
บรรทัด 101:
* Gash, Norman (1961). ''Mr. Secretary Peel: The Life of Sir Robert Peel to 1830''. New York: Longmans. (ภาษาอังกฤษ)
* Gash, Norman (1972). ''Sir Robert Peel: The Life of Sir Robert Peel after 1830''. Totowa, New Jersey: Rowman and Littlefield. (ภาษาอังกฤษ)
 
 
{{นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร}}
{{birth|1788}}{{death|1850}}
 
[[หมวดหมู่:นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร]]
{{birth|1788}}{{death|1850}}
{{death|1850}}
 
[[an:Robert Peel]]