ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิพนธ์ พร้อมพันธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ศุกลภัทร์ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล ผู้นำประเทศ
[[ไฟล์:Niphon Promphan.jpg‎|thumb|200px|right| name = นิพนธ์ พร้อมพันธุ์]]
'''นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์''' อดีต[[เลขาธิการนายกรัฐมนตรี]] รองหัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] และ ส.ส.[[นครราชสีมา]]หลายสมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ([[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]]) เกิดเมื่อวันที่ [[13 เมษายน]] [[พ.ศ. 2495]] ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายประสิทธิ์ และ นางตุ๊ พร้อมพันธุ์ นายนิพนธ์เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บ.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ และ บ.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของนางศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยา[[สุเทพ เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้วย
| image = Niphon Promphan.jpg‎
| imagesize = 150 px
| order = [[รายนามเลขาธิการนายกรัฐมนตรีของไทย|เลขาธิการนายกรัฐมนตรี]]
| primeminister = [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]
| term_start = [[30 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]]
| term_end = [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2552]]
| predecessor = [[ชูศักดิ์ ศิรินิล]]
| successor = [[กอร์ปศักดิ์ สภาวสุ]]
| primeminister2 = [[ชวน หลีกภัย]]
| term_start2 = [[15 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2540]]
| term_end2 = [[17 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2544]]
| predecessor2 = [[บุญชง วีสมหมาย]]
| successor2 = [[พรหมมินทร์ เลิศสุริย์เดช]]
| order3 = [[รายนามรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย|รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]
| primeminister3 = [[ชวน หลีกภัย]]
| term_start3 = [[23 กันยายน]] [[พ.ศ. 2535]]
| term_end3 = [[13 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2537]]
| predecessor3 = [[โฆษิต ปั้นเปี่ยมรัษฎ์]]
| successor3 = [[ประจวบ ไชยสาส์น]]
| birth_date = {{วันเกิดและอายุ|2495|4|13}}
| birth_place = [[กรุงเทพมหานคร]] [[ประเทศไทย]]
| death_date =
| death_place =
| spouse = นวนิตย์ พร้อมพันธุ์ (เสียชีวิต)
| religion = [[พุทธ]]
| party = [[พรรคประชาธิปัตย์|ประชาธิปัตย์]]
| signature =
| footnotes =
}}
 
'''นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์''' อดีต[[เลขาธิการนายกรัฐมนตรี]] ([[ชวน หลีกภัย]] และ[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]]) อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รองหัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] และ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร [[จังหวัดนครราชสีมา]]หลายสมัย
นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เป็นศิษย์เก่า[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] เมื่อเรียนจบชั้นประถมศึกษาแล้ว ได้ไปศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ [[โรงเรียนมิลฟิลด์]] แคว้นซอมเมอร์เซท [[ประเทศอังกฤษ]] โดยเป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนใน [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] ก่อนที่จะไปศึกษาต่อที่บาร์เกอร์คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย จนได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อปี พ.ศ. 2515
 
'''นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์''' อดีต[[เลขาธิการนายกรัฐมนตรี]] รองหัวหน้า[[พรรคประชาธิปัตย์]] และ ส.ส.[[นครราชสีมา]]หลายสมัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ([[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]]) เกิดเมื่อวันที่ [[13 เมษายน]] [[พ.ศ. 2495]] ที่กรุงเทพมหานคร เป็นบุตรของ นายประสิทธิ์ และ นางตุ๊ พร้อมพันธุ์ นายนิพนธ์เป็นเจ้าของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และโรงเลื่อย เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บ.ไทยประสิทธิ์ทำไม้ และ บ.ชนาพันธ์ นับเป็นแหล่งทุนเก่าแก่รายหนึ่งของพรรคประชาธิปัตย์ และยังเป็นพี่ชายของนางศรีสกุล พร้อมพันธุ์ ภรรยา[[สุเทพ เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] เลขาธิการพรรคประชาธิปัตย์อีกด้วย
หลังจากนายนิพนธ์สำเร็จการศึกษาระดัมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังไม่ทันได้เข้าศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย บิดาได้ขยายธุรกิจการลงทุนของครอบครัวในหลายกิจการ เช่น โรงเลื่อย การค้าไม้ ธุรกิจก่อสร้าง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ค้าขายที่ดินที่มีจำนวนมากในจังหวัดภาคอีสาน และกรุงเทพมหานคร นายนิพนธ์จึงถูกเรียกตัวกลับให้มาทำงานสืบต่อธุรกิจขณะที่มีอายุเพียง 20 ต้นๆ การกลับเข้ามาบริหารธุรกิจของครอบครัว ทำให้นายนิพนธ์ได้เรียนรู้ประสบการณ์ทางธุรกิจจากการบริหารธุรกิจค้าไม้ของครอบครัว เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บริษัทไทยประสิทธิ์ค้าไม้ และธุรกิจอื่นๆ เช่น บริษัทชนาพันธ์ ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ได้ทำโครงการบ้านเดี่ยว “ไม้ล้อมเรือน” เป็นโครงการแรกย่านสวนหลวง ร.9 นอกจากนี้ยังได้ดูแลธุรกิจก่อสร้าง กระทั่งสามารถเข้าไปแข่งขันสัมปทานในประเทศเพื่อนบ้านหลายโครงการ ทั้งในประเทศลาว กัมพูชา และพม่า
 
== ประวัติการศึกษา ==
ด้านชีวิตส่วนตัว นายนิพนธ์สมรสกับ น.ส.นวนิตย์ ไชยกูล มีบุตรธิดาด้วยกัน 3 คน คือ ชนาธิป ภากมล และ ธีร์พร พร้อมพันธุ์ ปัจจุบันนายนิพนธ์เป็นหม้ายเนื่องจากนางนวนิตย์ได้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเมื่อหลายปีก่อน และยังคงครองตัวเป็นโสดจนถึงปัจจุบัน
นายนิพนธ์ พร้อมพันธุ์ เกิดเมื่อวันที่ [[13 เมษายน]] [[พ.ศ. 2495]] ที่[[กรุงเทพมหานคร]] เป็นศิษย์เก่าบุตรของนายประสิทธิ์ และนางตุ๊ พร้อมพันธุ์ สำเร็จการศึกษาชั้นประถมศึกษาจาก[[โรงเรียนเซนต์คาเบรียล]] เมื่อเรียนจบชั้นประถมศึกษาแล้ว จากนั้นได้ไปศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ที่ [[โรงเรียนมิลฟิลด์]] แคว้นซอมเมอร์เซท [[ประเทศอังกฤษ]] โดยเป็นพระสหายร่วมชั้นเรียนใน [[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร]] ก่อนที่จะไปศึกษาต่อที่บาร์เกอร์คอลเลจ ประเทศออสเตรเลีย จนได้ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย เมื่อปี พ.ศ. 2515
 
หลังจากนายนิพนธ์สำเร็จการศึกษาระดัมัธยมศึกษาตอนปลาย ยังไม่ทันได้เข้าศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย บิดาได้ขยายธุรกิจการลงทุนของครอบครัวในหลายกิจการ เช่น โรงเลื่อย การค้าไม้ ธุรกิจก่อสร้าง ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ค้าขายที่ดินที่มีจำนวนมากในจังหวัดภาคอีสาน และกรุงเทพมหานคร นายนิพนธ์จึงถูกเรียกตัวกลับให้มาทำงานสืบต่อธุรกิจขณะที่มีอายุเพียง 20 ต้นๆปี การกลับเข้ามาบริหารธุรกิจของครอบครัว ทำให้นายนิพนธ์ได้เรียนรู้ประสบการณ์ทางธุรกิจจากการบริหารธุรกิจค้าไม้ของครอบครัว เช่น โรงเลื่อยจักรไทยพูนสิน บริษัทไทยประสิทธิ์ค้าไม้ และธุรกิจอื่นๆ เช่น บริษัทชนาพันธ์ ผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่ได้ทำโครงการบ้านเดี่ยว “ไม้ล้อมเรือน” เป็นโครงการแรกย่านสวนหลวง ร.9 นอกจากนี้ยังได้ดูแลธุรกิจก่อสร้าง กระทั่งสามารถเข้าไปแข่งขันสัมปทานในประเทศเพื่อนบ้านหลายโครงการ ทั้งในประเทศลาว กัมพูชา และพม่า
นายนิพนธ์เข้าสู่วงการเมืองได้เป็น ส.ส. ครั้งแรกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และได้เป็น ส.ส. อีกหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงการคลัง]] และ รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]] กระทั่งในปี พ.ศ. 2537 ขณะดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายนิพนธ์ถูก [[พรรคชาติไทย]] ในฐานะพรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โจมตีกรณีเกิดทุจริตในการแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 พร้อมกับ [[สุเทพ เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในขณะนั้น นายนิพนธ์ได้แสดงความรับผิดชอบ ด้วยการลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พรรคฝ่ายค้านยังคงนำมาเป็นประเด็นเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล เป็นเหตุให้ [[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] นายกรัฐมนตรี ประกาศ[[ยุบสภา]]ก่อนมีการลงมติ
 
ด้านชีวิตส่วนตัว นายนิพนธ์ สมรสกับ น.ส.นวนิตย์ ไชยกูล มีบุตรธิดาด้วยกัน 3 คน คือ ชนาธิป ภากมล และ ธีร์พร พร้อมพันธุ์ ปัจจุบันนายนิพนธ์เป็นหม้ายเนื่องจากนางนวนิตย์นวนิตย์ ได้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเมื่อหลายปีก่อน และยังคงครองตัวเป็นโสดจนถึงปัจจุบัน
 
== งานการเมือง ==
นายนิพนธ์ เข้าสู่วงการเมืองได้เป็น ส.ส. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 และได้เป็น ส.ส. รับการเลือกตั้งอีกหลายสมัย เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงการคลัง]] และ รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]] กระทั่งในปี พ.ศ. 2537 ขณะดำรงตำแหน่งเป็น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายนิพนธ์ถูก [[พรรคชาติไทย]] ในฐานะพรรคฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร โจมตีกรณีเกิดทุจริตในการแจกเอกสารสิทธิ ส.ป.ก.4-01 พร้อมกับ [[สุเทพ เทือกสุบรรณ|นายสุเทพ เทือกสุบรรณ]] รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในขณะนั้น นายนิพนธ์ได้แสดงความรับผิดชอบ ด้วยการลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี แต่พรรคฝ่ายค้านยังคงนำมาเป็นประเด็นเปิดอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล เป็นเหตุให้ [[ชวน หลีกภัย|นายชวน หลีกภัย]] นายกรัฐมนตรี ประกาศ[[ยุบสภา]]ก่อนมีการลงมติ
 
แม้ว่านับตั้งแต่ถูกโจมตีในปี พ.ศ. 2537 นายนิพนธ์จะไม่เคยถูกฟ้องร้อง ดำเนินคดีในชั้นศาลเกี่ยวกับกรณี [[ส.ป.ก. 4-01]] แต่อย่างใดจนถึงปัจจุบัน แต่ยังคงมีการนำกรณีดังกล่าวมาอ้างอิง เพื่อโจมตีทางการเมืองต่อ พรรคประชาธิปัตย์ มาโดยตลอด
 
ในปี พ.ศ. 2540 หลังการลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของ[[ชวลิต ยงใจยุทธ|พล.อ.เอกชวลิต ยงใจยุทธ]] และพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล นายนิพจน์ได้ดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล[[ชวน หลีกภัย| ต่อมาปลายปี พ.ศ. 2551 นายชวนนิพนธ์ได้กลับมาดำรงตำแหน่ง หลีกภัยเลขาธิการนายกรัฐมนตรี อีกครั้งในรัฐบาล[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล ในการดำรงตำแหน่งครั้งนี้นายนิพนธ์ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอีกครั้ง เมื่อพยายามขับรถฝ่าคนกลุ่มเสื้อแดงที่หน้า[[กระทรวงมหาดไทย]] แต่ถูกรุมทุบรถและทำร้ายร่างกายโดยกลุ่มคนเสื้อแดง ในวันที่ [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2552]]
 
ปลายปี พ.ศ. 2551 นายนิพนธ์ได้กลับมาดำรงตำแหน่ง เลขาธิการนายกรัฐมนตรี อีกครั้งในรัฐบาล[[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ|นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] เมื่อพรรคประชาธิปัตย์สามารถกลับขั้วการเมืองจัดตั้งรัฐบาล ในการดำรงตำแหน่งครั้งนี้ ชื่อของนายนิพนธ์ได้รับความสนใจจากสื่อมวลชนอีกครั้ง เมื่อพยายามขับรถฝ่าคนกลุ่มเสื้อแดงที่หน้า [[กระทรวงมหาดไทย]] ด้วยความเร็วสูงจนชนประตูรั้วทะลุไปได้แต่สุดท้ายไม่สามารถขับหนีออกไปได้เพราะมีรถแท๊กซี่จอดขวางอยู่ จึงถูกรุมทุบรถและรุมทำร้ายร่างกายโดยคนใส่เสื้อแดงบางคน แต่สุดท้ายเหตุการณ์ก็จบลงเมื่อกลุ่มคนเสื้อแดง ได้นำส่งโรงพยาบาลอย่างปลอดภัย ในวันที่ [[12 เมษายน]] [[พ.ศ. 2552]] ระหว่างเหตุการณ์จราจลช่วงสงกรานต์ ปี พ.ศ. 2552
 
ต่อมา นายนิพนธ์ได้ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เหตุเนื่องจากไม่พอใจเรื่องการแต่งตั้ง[[รายนามอธิบดีกรมตำรวจและผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ|ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] ทั้งนี้นายนิพนธ์ให้การสนับสนุน พลตำรวจเอก [[จุมพล มั่นหมาย]] แต่นายอภิสิทธิ์ ให้การสนับสนุน พล.ต.อ.[[ปทีป ตันประเสริฐ]] และแต่งตั้งให้ พล.ต.อ.ปทีป เป็นรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติในที่สุด<ref>[http://news.mcot.net/politic/inside.php?value=bmlkPTM3MDk4Jm50eXBlPWNsaXA= นายกฯ ยอมรับเซ็นคำสั่งให้ นิพนธ์ ลาออกจากเลขาฯ แล้ว]</ref>
== ประวัติการศึกษา ==
ประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย จาก บาร์เกอร์คอลเลจ [[ประเทศออสเตรเลีย]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2515]]
 
== ประวัติการทำงาน ==
* สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2529, 2531, 2535/1, 2535/2, 2538, 2539, 2544
* สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ พ.ศ. 2548
* รัฐมนตรีช่วยว่าการ[[กระทรวงการคลัง]] ปี 2531,2533
* รัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]] ปี 2535-2537
* เลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายชวน หลีกภัย) พ.ศ. 2540
* เลขาธิการนายกรัฐมนตรี (นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ) 30 ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 30 กันยายน พ.ศ. 2552
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
* [[พ.ศ. 2535]] - มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) ปี 2535
* มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.)
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
 
* [http://www.thaiswatch.com/display/content.php?type=politicians&list=&pid=POL0000000596 เว็บไซต์ศูนย์ข้อมูลนักการเมือง ThaisWatch.com ]
 
{{คณะรัฐมนตรีคณะที่ 45 ของไทย}}
{{คณะรัฐมนตรีคณะที่ 50 ของไทย}}
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของไทย}}
{{รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทย}}
{{เลขาธิการนายกรัฐมนตรีไทย}}
 
{{เกิดปี|2495}}{{alive}}
[[หมวดหมู่:ชาวนครราชสีมา]]
[[หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:นักการเมืองไทย]]
[[หมวดหมู่:นักธุรกิจชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคประชาธิปัตย์]]
[[หมวดหมู่:รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย]]
[[หมวดหมู่:เลขาธิการนายกรัฐมนตรีไทย]]
[[หมวดหมู่:พรรคประชาธิปัตย์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.]]