ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวรสารนักบุญยอห์น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rattakorn c (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Clumsily (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
'''พระวรสารนักบุญยอห์น''' หรือ '''พระวรสารนักบุญจอห์น''' ({{lang-en|Gospel of John}}; [[ภาษากรีก]]: Κατά Ιωαννην, “Kata Iōannēn”) เป็น[[พระวรสาร]]ฉบับที่สี่ของ “[[พระวรสาร|สังฆวรสาร]] ” (Canonical gospels) ซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ [[พันธสัญญาใหม่]] (New Testament) แต่มิได้เป็นส่วนหนึ่งของ[[พระวรสารสหทรรศน์]] สามฉบับซึ่งประกอบด้วย[[พระวรสารนักบุญมาร์คมาระโก]] [[พระวรสารนักบุญลูคลูกา]] และ [[พระวรสารนักบุญแม็ทธิวมัทธิว]]
 
'''พระวรสารนักบุญจอห์นยอห์น''' เป็น[[พระวรสาร]]ที่เชื่อกันว่าเขียนโดย[[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]] "สาวกที่พระองค์ทรงรัก" ผู้ซึ่งรู้วิถีชีวิตของชาวยิวเป็นอย่างดี และได้อ้างถึงขนบธรรมเนียมของชาวยิวอยู่หลายบทใน[[พระวรสาร]]เล่มนี้ แรกเริ่มก่อนที่จะได้รู้จักกับ[[พระเยซู]] [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]เป็นคนอารมณ์ร้อน เพียงแค่ชาวบ้านในหมู่บ้านแห่งหนึ่งไม่ต้อนรับ[[พระเยซู]] [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ถึงกับถาม[[พระเยซู]] จะให้เรียกไฟจากสวรรค์มาเผาหมู่บ้านนี้เสีย<ref>ลูกา 9:54</ref> แต่จากการที่ได้รู้จักกับ[[พระเยซู]]เป็นการส่วนตัวเป็นเวลาหลายปี [[พระเยซู]]เปลี่ยนเขาเป็นอัครทูตแห่งความรัก ไม่มีใครบรรยายถึงพระลักษณะของพระเจ้าได้อย่าง[[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]] เช่น "เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์"<ref>ยอห์น 3:16</ref> กับอีกหลายเหตุการณ์ที่[[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]บรรยายถึง[[พระเยซู]]ได้อย่างจับใจ แสดงว่าเรื่องราวต่างๆถูกบันทึกจากความทรงจำที่ได้เห็นมากับตา [[พระวรสาร]]เล่มนี้น่าจะถูกเขียนขึ้นประมาณปีค.ศ.85 หรือหลังจากนั้นเล็กน้อย
 
เช่นเดียวกับ[[พระวรสาร]]อีกสามฉบับที่เล่าเรื่องชีวิตของ[[พระเยซู]] แต่บางเหตุการณ์มีการตีความอย่างละเอียด '''พระวรสารนักบุญจอห์นยอห์น'''เป็น[[พระวรสาร]]ของ “ความเชื่อ”{{Fact|date=January 2008}} ที่เขียนขึ้นเพื่อจะยืนยันกับผู้อ่านว่า[[พระเยซู]]เป็น “[[เมสไซยาห์]]” และเป็น “พระบุตรของพระเป็นเจ้า” ดังที่ปรากฏอยู่ใน[[พระวรสาร]]ว่า "แต่การที่ได้บันทึกเหตุการณ์เหล่านี้ไว้ ก็เพื่อท่านทั้งหลายจะได้เชื่อว่า [[พระเยซู]]ทรงเป็นพระคริสต์ พระบุตรของพระเจ้า และเมื่อมีความเชื่อแล้ว ท่านก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์"<ref>ยอห์น 20:31</ref>
 
ในแง่ของ[[คริสต์ศาสนวิทยา]]แล้ว '''พระวรสารนักบุญจอห์นยอห์น'''เป็นฉบับที่มีน้ำหนักที่สุดที่เกี่ยวกับพระเจ้าและพระบุตร (Christology) ซึ่งบรรยายพระองค์ว่าเป็น “Logos” (ภาษากรีกหมายความว่า “คำ” “เหตุผล” “ความเป็นเหตุเป็นผล” “ภาษา” หรือ “โอวาท”) ผู้เป็น “Arche” (ภาษากรีกหมายความว่า “ผู้เป็นตัวตนมาตั้งแต่ต้น” หรือ “เป็นสิ่งที่สุดของทุกอย่าง”), กล่าวถึงความเป็นผู้ที่มาช่วยมวลมนุษย์ และประกาศพระองค์ว่าเป็นพระเจ้า<ref>A detailed technical discussion can be found in Raymond E. Brown, "Does the New Testament call Jesus God?" ''Theological Studies'' 26 (1965): 545–73</ref>
 
[[พระวรสาร]]ของ[[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ได้รับอิทธิพลจากพระคัมภีร์ภาค[[พันธสัญญาเดิม]]เป็นอย่างมาก บทเริ่มต้นของ[[พระวรสาร]]นำผู้อ่านกลับไปสู่ช่วงก่อนกาลเวลา ซึ่งมีแต่พระเจ้าเท่านั้นที่ทรงเป็นอยู่ คล้ายกับบทเริ่มต้นในพระธรรม[[ปฐมกาล]]ที่พระเจ้าทรงสร้างโลก รวมทั้งการกล่าวถึงเทศกาลของชาวยิวอยู่บ่อยๆ
 
[[พระวรสาร]]ฉบับนี้กล่าวถึง[[พระเยซู]]อย่างมีเนื้อหา มีคำสอนเป็นอันมากที่พระองค์ทรงสอนกับสาวกเท่านั้น อีกทั้งยังได้บันทึกเหตุการณ์บางอย่างที่[[พระวรสาร]]เล่มอื่นไม่ได้กล่าวถึงไว้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งตอนที่เรียกว่า "บทบรรยายห้องชั้นบน" เป็นตอนที่[[พระเยซู]]ตรัสเป็นส่วนตัวกับสาวกของพระองค์ถึงเรื่องเกี่ยวกับชีวิต จิตวิญญาณ การอธิษฐาน ความหวัง การเล้าโลมใจ พระเจ้า สวรรค์ และความชื่นชมยินดี<ref>ยอห์น 14:1 - 17:26</ref>
 
[[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]มีวัตถุประสงค์ในการเขียน[[พระวรสาร]]เล่มนี้อยู่ 4 ประการ หนึ่งคือ ต้องการบอกให้ผู้อ่านทราบว่า [[พระเยซู]]เป็นพระเจ้า เพราะว่าตั้งแต่ก่อนที่[[พระเยซู]]จะเสด็จเข้ามาในโลก พระองค์ทรงดำรงอยู่กับพระเจ้า<ref>ยอห์น 1:2</ref>
 
ประการที่สอง [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการเน้นคุณลักษณะความเป็นมนุษย์ของ[[พระเยซู]] พระองค์มีความรู้สึกเหมือนมนุษย์ ต้องมีการดำรงชีวิต รับประทานอาหาร ดื่มน้ำ เหน็ดเหนื่อย ฯลฯ [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]จำเป็นต้องบันทึกเรื่องราวความเป็นมนุษย์ของ[[พระเยซู]] เพราะในสมัยนั้นมีนักคิดบางกลุ่มมองว่า [[พระเยซู]]เป็นเหมือนวิญญาณที่เข้ามาในโลกแล้วก็ผ่านไป ไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของโลกนี้จริงๆ
 
ประการที่สาม [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]เขียน[[พระวรสาร]]เล่มนี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ที่ได้อ่านจะเชื่อ[[พระเยซู]] แล้ว "ก็จะมีชีวิตโดยพระนามของพระองค์"<ref>ยอห์น 20:31</ref>
 
ประการสุดท้าย [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิสยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]ต้องการให้ผู้อ่านเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างสาวกกับ[[พระเยซู]] เช่น "เราเป็นผู้เลี้ยงที่ดี ผู้เลี้ยงที่ดีนั้นย่อมสละชีวิตของตนเพื่อฝูงแกะ"<ref>ยอห์น 10:11</ref> เป็นต้น
 
'''พระวรสารนักบุญจอห์นยอห์น''' ใช้ “ยอห์น” หรือ “ยน” ในการอ้างอิง
 
== โครงร่าง ==
บรรทัด 44:
* [[พันธสัญญาใหม่]]
* [[พระวรสาร]]
* [[ผู้ประกาศข่าวประเสริฐทั้งสี่]]
* [[อีแวนเจลลิสทั้งสี่]]
* [[ยอห์นผู้ประกาศข่าวประเสริฐ]]
* [[นักบุญจอห์นอีแวนเจลลิส]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://mariarosa.org/gen_john.html ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพระวรสารนักบุญจอห์นยอห์น (ThaiBible)]
 
{{คัมภีร์ไบเบิล}}