ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไท่เก๊ก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไท ไท่ ไท้ เก๊ก เก็ก เอาสักอย่างนึง
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Martial arts - Fragrant Hills.JPG|thumb|300px|การฝึกฝนไท่เก๊ก ในประเทศจีน]]
 
'''วิชามวยไท่เก๊ก''' หรือ '''ไท่เก็กคุ้งไท่เก๊กคุ้ง''' ({{Zh-all|t=太極拳|s=太极拳|p=Tàijíquán}}) เรียกกันตามภาษาจีนแต้จิ๋วซึ่งเป็นที่นิยมในหมู่คนจีนบ้านเรา อ่านแบบจีนกลางว่า ไท่จี๋เฉวียน เขียนเป็นภาษาอังกฤษคือ Taijiquan หรือ Tai'chi Chuan แต่ในบ้านเราเรียกกันหลายสำเนียงทั้ง ไท่เก๊ก ไทเก็ก ไท้เก๊ก ไท่จี๋ ไท้จี๋ ไทชิ ไทกิ๊บ
 
วิชามวยไท่เก๊กเป็นศิลปยุทธ์ที่มีชื่อเสียงในประเทศจีน เชื่อกันว่าปรมาจารย์ผู้ให้กำเนิดมวยไท่เก๊กคือนักพรตชื่อ [[จางซานฟง]] (เตียซำฮงในภาษาแต้จิ๋ว) ซึ่งมีชีวิตอย่ในช่วงปี ค.ศ. 12xx-14xx แต่วิชานี้มามีชื่อเสียงเอาในสมัย[[ราชวงศ์ชิง]] โดยท่านหยางลู่ฉานซึ่งเป็นผู้ให้กำเนิดมวยไท่เก๊กตระกูลหยาง และภายหลังได้แพร่ขยายขจรขจายไปทั่วโลก สำหรับในประเทศไทยอาจารย์ต่งอิงเจี๋ย (ตั่งเองเกี๊ยก) นำมวยไทไท่เก๊กมาเผยแพร่ในเมืองไทยเมื่อ พ.ศ. 2498 ต่อมาในปี พ.ศ. 2499 อาจารย์ต่งส่งบุตรชายของท่านคืออาจารย์ต่งหูหลิ่ง (ตั่งโหวเนี่ย) มาเป็นครูมวยไทไท่เก๊กคนแรกในประเทศไทย จึงกล่าวได้ว่ามวยไทไท่เก๊กในไทยนั้น สืบสายมาจากมวยไท่เก๊กตระกูลหยาง
 
ในปัจจุบัน มวยไท่เก๊กที่แพร่หลายกันอยู่ทั่วไปมีอยู่มากมายหลายสาย หลายตระกูล ซึ่งสายมวยอันเป็นที่ยอมรับในปัจจุบันมีอยู่ 5 สายหลักคือ ไท่เก๊กตระกูลเฉิน, ตระกูลหยาง, [[มวยไท่เก๊กตระกูลอู่|ตระกูลอู่]], ตระกูลอู๋ และตระกูลซุน ซึ่งภายหลังรัฐบาลจีนได้นำท่ามวยของทั้งห้าตระกูลมาเรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้ในการแข่งขันลีลายุทธ์ด้วย นอกจากห้าตระกูลนี้แล้ว ภายหลังยังมีมวยไท่เก๊กตระกูลอื่นๆ ซึ่งแตกแยกย่อยไปจากห้าตระกูลนี้ รวมถึงยังปรากฏมวยไท่เก๊กประจำถิ่นอีกหลายๆ สายปรากฏออกมาอีกมากมาย หากไม่ว่าจะเป็นมวยไท่เก๊กสายใดตระกูลใด แม้ท่วงท่าจะแตกต่างกัน แต่ยังอิงเคล็ดความเดียวกัน และล้วนนับถือท่านจางซานฟงเป็นปรมาจารย์เช่นเดียวกัน
 
มวยไท่เก๊กมีลักษณะนุ่มนวล โอนอ่อน ผ่อนคลาย การเคลื่อนไหวลื่นไหลต่อเนื่อง การหายใจสอดประสานไปกับการเคลื่อนไหว พร้อมทั้งต้องตั้งจิตติดตามการเคลื่อนไหวของร่างกายไปตลอดทำให้เกิดสมาธิ เนื่องจากไม่มีการเกร็งกล้ามเนื้อ หรือการออกแรงกระแทก จึงมีโอกาสเกิดการบาดเจ็บร่างกายได้น้อยเมื่อเทียบกับกีฬาที่ใช้แรงชนิดอื่นๆ ทำให้เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย แม้แก่ชราอายุ 90-100 กว่าปีก็ยังฝึกฝนได้ ประโยชน์ที่ได้รับนอกจากจะช่วยให้สุขภาพแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจแล้ว ยังสามารถใช้เป็นศิลปะป้องกันตัวได้หากได้รับการฝึกฝนเพื่อใช้ต่อสู้ ในปัจจุบันไท่เก๊กมีผู้นิยมฝึกฝนกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก
บรรทัด 12:
* [http://www.thaitaiji.com/ เว็บมวยไท่เก๊ก www.thaitaiji.com]
* [http://www.fajing.net/thai/2007/08/taijiquan-thailand/ ประวัติมวยไท่เก๊กในประเทศไทย www.fajing.net]
* [http://www.wuhaotaichi.net/ ชมรมมวยไท้เก็กสกุลอู่ไท่เก๊กสกุลอู่ www.wuhaotaichi.net]
 
{{เรียงลำดับ|ไท่เก๊ก}}
 
{{เรียงลำดับ|ไท่เก๊กท่ไก๊เก}}
[[หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของจีน]]
{{โครงประเทศจีน}}