ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สัมประสิทธิ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 29:
แม้ว่าสัมประสิทธิ์มักจะมองเห็นเป็น[[ค่าคงตัว]]ในพีชคณิตมูลฐาน แต่โดยทั่วไปมันก็สามารถเป็นตัวแปรได้ เช่น[[พิกัด]] <math>(x_1, x_2, ..., x_n)</math> ของ[[เวกเตอร์ (เรขาคณิต)|เวกเตอร์]] ''v'' ใน[[ปริภูมิเวกเตอร์]]ที่มี[[ฐานหลัก]] <math>\lbrace e_1, e_2, ..., e_n \rbrace</math> พิกัดจะเป็นสัมประสิทธิ์ของเวกเตอร์ฐานหลักในนิพจน์นี้
::<math>v = x_1 e_1 + x_2 e_2 + \cdots + x_n e_n</math>
 
== ตัวอย่างสัมประสิทธิ์ทางฟิสิกส์ ==
# [[สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวจากความร้อน]] ([[อุณหพลศาสตร์]]; ปริมาณไร้มิติ) เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเทียบกับการเปลี่ยนแปลงมิติของวัสดุ
# [[สัมประสิทธิ์การแบ่งส่วน]] (K<sub>D</sub>; [[เคมี]]) อัตราส่วนของความเข้มข้นของสารผสมในสองสถานะ ซึ่งเป็นส่วนผสมของตัวทำละลายที่เข้ากันไม่ได้สองชนิดในภาวะสมดุล
# [[สัมประสิทธิ์ฮอลล์]] (ฟิสิกส์ไฟฟ้า) เกี่ยวกับสนามแม่เหล็กที่ให้กับวัตถุ เทียบกับความต่างศักย์ที่สร้างขึ้น ปริมาณของกระแสไฟฟ้า และความหนาของวัตถุ เป็นลักษณะเฉพาะของวัสดุที่นำมาใช้ทำตัวนำไฟฟ้า
# [[สัมประสิทธิ์แรงยก]] (C<sub>L</sub> หรือ C<sub>Z</sub>; [[อากาศพลศาสตร์]]; ปริมาณไร้มิติ) เกี่ยวกับแรงยกที่สร้างขึ้นโดยแพนอากาศ ด้วยแรงดันพลวัตของของไหลรอบ ๆ แพนอากาศ และพื้นที่ผิวของแพนอากาศ
# [[สัมประสิทธิ์ขีปนวิธี]] (BC; [[อากาศพลศาสตร์]]; มีหน่วยเป็น kg/m<sup>2</sup>) การวัดความสามารถของวัตถุที่จะเอาชนะแรงต้านของอากาศในการบิน เป็นฟังก์ชันของมวล เส้นผ่านศูนย์กลาง และสัมประสิทธิ์แรงต้าน
# [[สัมประสิทธิ์การส่งผ่าน]] ([[กลศาสตร์ควอนตัม]]; ปริมาณไร้มิติ) ฟลักซ์ที่เป็นไปได้ของคลื่นที่ส่งผ่าน เทียบกับฟลักซ์ที่เป็นไปได้ของคลื่นที่เกิดโดยไม่ตั้งใจ มักใช้สำหรับอธิบายความเป็นไปได้ของอนุภาคที่จะลอดผ่านสิ่งขวางกั้น
# [[ตัวประกอบการหน่วง]] หรือรู้จักในชื่อ ''สัมประสิทธิ์การหน่วงหนืด'' (วิศวกรรมฟิสิกส์; มีหน่วยเป็น N·s/m) เกี่ยวกับแรงหน่วงที่มีความเร็ว ของวัตถุซึ่งกำลังเคลื่อนที่อยู่
 
== อ้างอิง ==