ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาตรวิทยา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Drago~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 18:
== ระบบมาตรวิทยาสากล<ref name="อบรม"></ref> ==
 
การวัดขนาดและปริมาณต่างๆ เป็นกิจกรรมที่สังคมมนุษย์กระำทำกระทำกันมาตั้งแต่เกิดสังคมเมืองขึ้น ในอดีตหน่วยวัดที่กำหนดขึ้นจะใช้กันภายในกลุ่มเดียวกัน ทำให้เกิดความไม่สะดวกในการซื้อขายแลกเปลี่ยน สังคมมนุษย์จึงต้องการหน่วยวัดขนาดและปริมาณที่ทุกๆ คนยอมรับ
วันที่ [[20 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2418]] ([[ค.ศ. 1875]]) รัฐบาล 17 ประเทศทั่วโลกที่เป็นสมาชิกก่อตั้ง The Metre Convention จึงได้ลงนามร่วมกันใน''สนธิสัญญาเมตริก'' ที่กรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] และประกาศให้วันที่ 20 พฤษภาคมของทุกปีเป็น''วันมาตรวิทยาโลก''
 
บรรทัด 58:
*'''สอบเทียบอย่างต่อเนื่องเป็นลูกโซ่''' จากผู้ใช้เครื่องมือกลับไปยังมาตรฐานแห่งชาติหรือมาตรฐานระหว่างประเทศ
*'''มีความไม่แน่นอนของการวัด''' การสอบกลับแต่ละขั้นตอนจะต้องคำนวณตามวิธีที่กำหนดและรายงานค่า เพื่อให้สามารถคำนวณค่าความไม่แน่นอนรวมของทุกขั้นตอนได้
*'''ทำเป็นเอกสาร''' ทำการสอบเทียบตามเอกสา่รเอกสาร อีกทั้งผลของการสอบเทียบต้องเป็นเอกสารเช่นกัน
*'''มีความสามารถ ''''ห้องปฏิบัติการหรือองค์กรที่ทำการสอบเทียบจะ้จะต้องมีมาตรฐานรับรอง เช่น ISO/IEC 17025
*'''อ้างหน่วยเอสไอ''' การสอบเทียบต้องสิ้นสุดลงที่มาตรฐานปฐมภูมิ ซึ่งก็คือ[[หน่วยเอสไอ]]
*'''ระยะเวลา''' การสอบเทียบจะต้องทำซ้ำตามช่วงเวลาที่เหมาะสม ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวแปรต่างๆ เช่ย ความถี่ของการใช้งาน การนำไปใช้)
 
=== ความไม่แน่นอนของการวัด ===
ความไม่แน่นอนของการวัด (Uncertainty of Measurement) คือ สิ่งที่บ่งบอกความไม่สมบูรณ์ของปริมาณที่ถูกวัด จากขั้นตอนการสอบกลับ ซึ่งจะมีค่ามากขึ้นเรื่อยๆ จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับความสามารถในการวัดของแต่ละห้องปฏิบัติการ เป็นสิ่งที่บ่งบอกคุณภาพของการวัดว่าน่าเชื่อถือได้ดีเพียงใด การรายงานความไม่แน่นอนของการวัดจะต้ิองต้องรายการพร้อมกับผลของการวัดเสมอ เพื่อจะให้เปรียบเทียบค่าที่ได้จากการวัดกับเกณฑ์มาตรฐานที่ยอมรับ<ref>มาตรวิทยาเบื้องต้น หน้า 18-21</ref>
 
การบอกค่าความไม่แน่นอนจะต้องบอกค่าที่วัดได้ ± ค่าความคลาดเคลื่อน พร้อมบอกระดับความเชื่อมั่นเป็นร้อยละ เช่น ผลการวัดความยาวของตัวต้านทานที่มีค่าระบุ 1 kΩ คือ 1,000.001 Ω มีค่าความไม่แน่นอน 0.001 Ω กา่ีีรกาีรรายงานผลการวัดจะอยู่ในรูป
<br><center><math>1,000.001\Omega\pm 0.001\Omega</math> ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%</center>