ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
substituteTemplate
บรรทัด 30:
หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย เป็นบุตรของ พันเอก หลวงเอนกนัยวาที ([[หม่อมราชวงศ์นารถ ชุมสาย]]) <ref>[http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/2007/08/K5747005/K5747005.html กระทู้ นิราศวังบางยี่ขัน] กล่าวถึงประวัติย่อ นายพันเอกพิเศษ พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าปฤษฎางค์ พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ หลวงเอนกนัยวาที (ม.ร.ว. นารถ ชุมสาย) เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2513</ref><ref name="ทางสีขาว">{{user:2T/ref/อัจฉริยะบนทางสีขาว}}</ref> มีน้องสาวคือ [[หม่อมหลวงอนงค์ นิลอุบล]] <ref>ปราโมทย์ นาครทรรพ, ดับเครื่องชนทักษิณ (2) , ผู้จัดการรายวัน 9 กรกฎาคม 2549</ref> เกิดที่[[จังหวัดฉะเชิงเทรา]] จบชั้นมัธยม 8 จาก[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] และได้รับพระราชทาน[[ทุนเล่าเรียนหลวง]] ไปศึกษา[[อักษรศาสตร์]]จาก ทรินิตี้คอลเลจ [[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] สำเร็จการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2476 กลับมารับราชการ[[กระทรวงศึกษาธิการ]] และเป็นอาจารย์สอนที่[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] [[โรงเรียนหอวัง]] [[โรงเรียนอุดรพิทยานุกูล]] และแต่งตำรา พร้อมกับร่างหลักสูตรการเรียนการสอน ก่อตั้ง[[โรงเรียนอนุบาลละอออุทิศ]] และก่อตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู และแผนกฝึกหัดครูมัธยม หลายแห่ง เช่นที่ [[มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม|วังจันทรเกษม]] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา|บ้านสมเด็จเจ้าพระยา]] [[โรงเรียนสตรีเพชรบุรี]] [[มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา|สวนสุนันทา]] [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร|โรงเรียนฝึกหัดครูประสานมิตร]] <ref>{{user:2T/ref/เสี้ยวศตวรรษ}}</ref>
ในปี [[พ.ศ. 2493]] หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย รับหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญของ[[องค์การยูเนสโก]] ประจำอยู่ที่[[กรุงปารีส]] ทำหน้าที่วางโครงการช่วยเหลือด้านการศึกษาใน[[ประเทศด้อยพัฒนา]] โดยเฉพาะในประเทศไทย และภูมิภาคใกล้เคียง และย้ายมาประจำที่กรุงเทพในตำแหน่งรองผู้อำนวยการประจำภูมิภาคเอเชีย เป็นผู้จัดทำโครงการในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งภูมิภาค[[ภาคอีสาน]]ขึ้น คือ [[มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] และคณะศึกษาศาสตร์ [[มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]] <ref>{{user:2T/ref/100นักประพันธ์}}</ref>อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=ประทีป เหมือนนิล
|ชื่อหนังสือ=100 นักประพันธ์ไทย
|URL=
|จังหวัด=กรุงเทพ
|พิมพ์ที่=สุวีริยาสาส์น
|ปี=2542
|หน้า=479
|ISBN=974-8267-78-4
}}
</ref>
 
หม่อมหลวงมานิจ ชุมสาย ได้แต่งตำราวิชาการเป็นจำนวนมาก ที่เป็นที่รู้จักแพร่หลาย คือ [[พจนานุกรม]]ฉบับ[[ภาษาอังกฤษ]] [[ภาษาฝรั่งเศส]] และ[[ภาษาเยอรมัน]] รวมทั้งงานค้นคว้าด้านภาษาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมไทย ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ เช่น King Mongkut and British และ History of Thailand and Combodia <ref>[http://www.praphansarn.com/author/Author2.asp?AuthorID=175 ประวัติจาก สำนักพิมพ์ประพันธ์สาส์น]</ref> โดยเป็นเจ้าของสำนักพิมพ์ และร้านหนังสือชื่อ "เฉลิมนิจ" (มาจากคำว่า เฉลิมขวัญ และ มานิจ) <ref>[http://www.naewna.com/news.asp?ID=83406 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานในงานเฉลิมฉลองครบรอบ 70 ปี ของบริษัทเฉลิมนิจพับบลิซซิ่ง จำกัด] จาก หนังสือพิมพ์แนวหน้า, 20 พฤศจิกายน 2550</ref>