ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วันชาติ (ประเทศไทย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Patiwat~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Flag_of_Thailand.svg|200150px|thumb]]
 
'''[[วันชาติ]]ใน[[ประเทศไทย]]''' ตรงกับวันที่ [[5 ธันวาคม]]ของทุกปี ตามวันพระราชสมภพของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] เปลี่ยนแปลงจากที่ก่อนหน้านี้ กำหนดเป็นวันที่ [[24 มิถุนายน]]ของทุกปี ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนัยแห่งการเฉลิมฉลองไปในทางเทิดพระเกียรติ[[สถาบัน]][[พระมหากษัตริย์ไทย]] มากกว่าจะแสดงออกถึงการเชิดชูสถาบัน[[ชาติ]]ในเชิง[[การเมือง]]
 
== ประวัติ ==
===วันชาติเดิม===
[[ไฟล์:Memorial peg of Siamese Revolution of 1932.jpg|thumb|150px|หมุด[[คณะราษฎร]]]]
เมื่อวันที่ [[18 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2481]] [[รัฐบาล]][[พระยาพหลพลพยุหเสนา|พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา]] ออกประกาศ[[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]] เรื่อง วันชาติ ความว่า ด้วย[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 8 ของไทย|คณะรัฐมนตรี]]ได้ประชุมปรึกษา และลงมติว่า วันที่ [[24 มิถุนายน]] ย่อมถือว่าเป็นวันชาติ ทั้งนี้ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2481/D/1322.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง วันชาติ]; [[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่ม 55 ตอน 0ง [[1 สิงหาคม]] 2481 หน้า 1322</ref> ด้วยเหตุที่ว่า [[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475|การปฏิวัติสยาม]] จากระบอบ[[ราชาธิปไตย]] ([[สมบูรณาญาสิทธิราชย์]]) มาเป็นระบอบ[[ประชาธิปไตย]] ([[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ|อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข]]) เกิดขึ้นโดย[[คณะราษฎร]] ในวันและเดือนดังกล่าว เมื่อปี [[พ.ศ. 2475]] [[คณะรัฐมนตรี]]จึงกำหนดไว้ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงเหตุการณ์ครั้งนั้น
 
[[ไฟล์:Bhumibol_Adulyadej.jpg|200150px|thumb|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]
===วันเทิดพระเกียรติงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช===
 
ต่อมา เมื่อวันที่ [[21 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2503]] รัฐบาล[[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ได้เปลี่ยนแปลงให้ถือวันพระราชสมภพของ[[พระมหากษัตริย์]]ในขณะนั้น เป็นวันเฉลิมฉลองของชาติไทย ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โดยให้เหตุผลว่า มีข้อที่ไม่เหมาะสมหลายประการ รวมถึง[[ชาวไทย|ประชาชน]]และ[[หนังสือพิมพ์]]ก็เสนอแนะให้พิจารณาเรื่องนี้อยู่หลายครั้ง [[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 29 ของไทย|คณะรัฐมนตรี]]จึงแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณา มี[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรรณไวทยากร กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์|พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอฯ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์]] [[รองนายกรัฐมนตรี]]ในขณะนั้นเป็นประธาน