ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นิจิเร็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taihe (คุย | ส่วนร่วม)
สัทธรรมปุ
Pawadol (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ความหมายอื่น||ศาสดาของนิชิเรน|พระนิชิเรน}}
'''พุทธศาสนานิชิเรน''' ({{lang-ja|日蓮系諸宗派}}, ''นิชิเรน-เคอิ โช ชูฮะ'') เป็นหนึ่งในนิกายทาง[[มหายาน]]ของ[[พุทธศาสนา]] ที่ยึดตามคำสอนของ พระสงฆ์ชาวญี่ปุ่นชื่อ '''[[พระนิชิเรน]]''' ([[ค.ศ. 1222]]– [[ค.ศ. 1282]]) รูปแบบของศาสนาพุทธนิกายนี้มีอิทธิพลอย่างมากต่อสังคมญี่ปุ่นหลายช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ นิชิเรนโชชูจะเชื่อใน คัมภีร์ [[สัทธรรมปุณฑริกสูตร]] และเชื่อว่ามนุษย์ทุกคนๆที่ธรรมชาติพุทธะอยู่ในร่างกาย จึงทำให้มนุษย์ทุกๆคนสามารถบรรลุพุทธภาวะได้ในช่วงชีวิตนี้ นิกายนี้จัดเป็นนิกายที่มีคำสอนตรงกันข้ามและโจมตีนิกายมหายานอื่นๆอย่างชัดเจน อาทิเช่น [[นิกายเซน]], [[นิกายชินงอน]], [[นิกายสุขาวดี]], [[วัชรยาน]] เป็นต้น ซึ่งนิชิเรน ได้เห็นความเบี่ยนเบนทางคำสอนของ มหายานในสมัยนั้น นิกายนิชิเรนมีแตกแยกออกเป็นหลายๆนิกายย่อยและลัทธิต่างๆอีกมากมาย อีกทั้งยังมีแยกออกเป็นกลุ่มศาสนาใหม่มากมาย โดยบางนิกายจะใช้บทสวดเดียวกัน แต่จะมีความแตกต่างในการปฏิบัติ และคำสอน ผู้นับถือนิกายนิชิเรนจะเชื่อว่าการปฏิบัติธรรมจะสามารถนำพาความสุข และสันติสุขมาอยู่โลก
 
== พระนิชิเรน ผู้ก่อตั้ง ==
บรรทัด 51:
 
== นิกายนิชิเรนในประเทศไทย ==
ในประเทศไทยนั้น นิกายนิชิเรนถูกเผยแพร่เข้ามาพร้อมกับชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาตั้งรกรากหรือมาประจำสำนักงานสาขาในยุคริเริ่มพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย ซึ่งมีการนำเข้ามาหลายนิกาย ทั้ง [[นิชิเรนโชชู]] [[นิชิเรนชู]] [[นิชิเรนฮนมน]] และ [[โซกา งัคไค]] เป็นต้น แต่ที่เด่นชัดและใหญ่ที่สุดคือ [[นิชิเรนโชชู]] และ [[โซกา งัคไค]] ซึ่งนิกายนิชิเรนโชชูนั้น ถูกเผยแพร่เป็นครั้งแรกโดย[[ดร. พิภพ ตังคณะสิงห์]] ซึ่งเป็นคนไทยคนแรกที่นับถือนิกายนี้อย่างเป็นทางการ และได้ก่อตั้ง [[สมาคมธรรมประทีป]] ซึ่ง ดร.พิภพ นี้ก็ยังเป็นผู้แปลบทธรรมนิพนธ์ของพระนิชิเรน เป็นภาษาไทยอีกด้วย อย่างไรก็ตามในภายหลัง นิกายนิชิเรนโชชู ได้ทำการคว่ำบาตร โซกางัคไค หรือ [[สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย]] ส่งผลให้ผู้นับถือในประเทศไทยได้แตกออกเป็น 2 ฝ่ายด้วยเช่นกัน โดย สมาคมธรรมประทีป ยังคงเป็นของนิกายนิชิเรนโชชู ส่วนผู้นับถืออีกกลุ่มหนึ่งได้ออกไปตั้งกลุ่มใหม่ โดยใช้ชื่อว่า "สมาคมสร้างคุณค่าในประเทศไทย" ขึ้น
 
== อ้างอิง ==