ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัสดุศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
SieBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: bn:বস্তু বিজ্ঞান
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Si3N4bearings.jpg|thumb|เซรามิกแบริง]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
 
[[ไฟล์:Materials science tetrahedron;structure, processing, performance, and proprerties.JPG|thumb|The Materials Science Tetrahedron]]
'''วัสดุศาสตร์''' ({{lang-en|Materialsmaterials Sciencescience}}) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุและกระบวนการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น [[ฟิสิกส์]] [[เคมี]] [[ชีววิทยา]] และ [[ธรณีวิทยา]] โดยมุ่งความสนใจไปที่คุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุในสภาวะที่เป็นของแข็งอันได้แก่ โครงสร้าง ระดับ[[อะตอม]]หรือ[[โมเลกุล]]ของวัสดุ คุณสมบัติทาง[[อิเล็กทรอนิกส์]] การนำความร้อน คุณสมบัติทางเคมี [[สนามแม่เหล็กไฟฟ้า|คุณสมบัติทางแม่เหล็กไฟฟ้า]] คุณสมบัติที่ยอมให้[[แสง]]ผ่าน หรือการผสมผสานกันของบางคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้ คุณสมบัติของวัสดุที่สังเกตง่ายและชัดเจนจะแสดงออกมาในรูปของคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ ส่วนความแตกต่างในระดับโครงสร้างโมเลกุลและอะตอมจะต้องใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ซับซ้อนในการตรวจสอบ สำหรับการประเมินสมรรถนะของวัสดุจะเป็นพื้นฐานของงาน[[วิศวกรรม]]ที่จะนำวัสดุนั้นๆไปใช้งาน ส่วนวิชาว่าด้วยวัสดุศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการความรู้ทางเทคโนโลยีของวัสดุสี่ส่วนซึ่งแต่ละส่วนจะเกี่ยวข้องเชื่อมโยงซึ่งกันและกันเป็นรูปสี่มุมสี่ด้าน (Tetrahedron) การนำวิชาการทางด้านวัสดุศาสตร์ไปใช้งานทางด้านวิศวกรรมอย่างกว้างขวางทำให้เกิดนิยามของวิชาการสาขานี้ใหม่เป็น"วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม" วัสดุที่คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นใหม่ทำให้เกิดผลิตภัญฑ์ใหม่หรือไม่ก็เกิดอุตสาหกรรมใหม่ อุตสาหกรรมเหล่านี้จำเป็นต้องมีนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรสาขาวัสดุศาสตร์คอยดูแลแก้ไขปัญหาและวิจัยวัสดุใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง ในอุสาหกรรมนักวัสดุศาสตร์จะมีบทบาทในส่วนของ [[การออกแบบวัสดุ]] (materials design) การประเมินค่าใช้จ่ายในการผลิตวัสดุนั้นๆ ดูแลกระบวนการทางเทคนิคซึ่งประกอบด้วย [[การหล่อ]], [[การม้วน]], [[การเชื่อม]], [[การใส่ประจุ]], [[การเลี้ยงผลึก]],[[การรอกฟิล์ม]](thin-film deposition) , [[การเป่าแก้ว]] เป็นต้น และเทคนิคการวิเคราะห์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอน, การเอกซเรย์ เป็นต้น
 
== ประเภทของวัสดุ ==
วัสดุศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นสาขาวิชาตามประเภทของวัสดุได้ดังนี้:
#* [[โลหะ]]
#* [[วัสดุผสม]]
#* [[สารกึ่งตัวนำ]]
#* [[เซรามิก]]
#* [[พอลิเมอร์]]
#* [[วัสดุชีวภาพ]]
#* [[วัสดุเชิงก้าวหน้า]]
#* [[วัสดุฉลาด]]
<!--# [[wood]] It's fiber-reinforced polymer. The fibers are cellulose, and the matrix is hemicellulose and lignin.-->
 
== สาขาย่อยของวัสดุศาสตร์ ==
เส้น 30 ⟶ 29:
== ดูเพิ่ม ==
* [[วิศวกรรมวัสดุ]] - ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบวัสดุ เพื่อการใช้งานในอุตสาหกรรม
 
{{ต้องการ== อ้างอิง}} ==
* Ashby, Michael; Hugh Shercliff and David Cebon (2007). Materials: engineering, science, processing and design (1st ed.). Butterworth-Heinemann. ISBN 978-0-7506-8391-3.
 
{{เทคโนโลยี}}
{{สาขาเคมี}}
{{โครงวัสดุศาสตร์}}
 
[[หมวดหมู่:วัสดุศาสตร์|*]]
 
[[af:Materiaalkunde]]