ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอนก นาวิกมูล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งต้องการอ้างอิงด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Prachumphol3.jpg|thumb|200px|เอนก นาวิกมูล]]
'''เอนก นาวิกมูล''' ([[14 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2496]] - ) เป็นนักวิชาการ นักเขียนสารคดี นักสะสมของเก่า ผู้ก่อตั้ง[[พิพิธภัณฑ์]] '''[[บ้านพิพิธภัณฑ์]]'''
เกิดที่[[อำเภอระโนด]] [[จังหวัดสงขลา]] ครอบครัวทำกิจการร้านขายหนังสือแบบเรียน บิดาเป็นนักประดิษฐ์ นักสะสมหนังสือ ปฏิทิน [[ส.ค.ส.]] ภาพถ่าย ส่วนตัวจึงชอบถ่ายภาพ ชอบศึกษาค้นคว้า เขียนหนังสือ และเป็นนักสะสมมาตั้งแต่เด็ก เอนกจบชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนบ้านระโนด(ธัญเจริญ) อ.ระโนด จ.สงขลา จบมัธยมศึกษาตอนต้นจาก[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา]] มัธยมศึกษาตอนปลาย สาย ศิลป์-คณิต จากโรงเรียนวรนารีเฉลิม สงขลาปี ๒๕๑๕ และมาเรียนต่อที่[[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]จบรัฐศาสตร์(รุ่น ๒๕) เกียรตินิยม
เอนก เป็นคนที่รักการสะสมแสตมป์ รูปภาพ ถ่ายรูป การเขียนหนังสือและการวาดภาพ วาดการ์ตูนมาตั้งแต่เด็ก ๆ เพื่อน ๆ ในสมัยเรียนต่างชอบอ่านหนังสือการ์ตูน นิทาน ที่เอนกทำขึ้น สมัยที่เรียน ม.ปลาย เอนก ได้รับมอบหมายให้เป็นสารานียกร หนังสือรุ่น ซึ่งถือเป็นงานหนังสือที่เอนกได้รับผิดชอบและทำได้ดีมากรุ่นหนึ่ง ของโรงเรียนวรนารีเฉลิม
 
'''เอนก นาวิกมูล''' วันเสาร์ที่ ( [[14 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2496]] - ปัจจุบัน ) เป็นนักวิชาการ นักเขียนสารคดี นักสะสมของเก่า และ ยังเป็นผู้ก่อตั้ง[[พิพิธภัณฑ์]] '''[[บ้านพิพิธภัณฑ์]]''' อีกด้วย
หลังจบการศึกษาจากจุฬาฯ เอนกทำงานหนังสือพิมพ์ เป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เพลงพื้นบ้าน ต่อมาจึงไปทำงานที่[[เมืองโบราณ]] [[สมุทรปราการ]] เมื่อ พ.ศ. 2520 และลาออกไปทำงานที่[[ศูนย์สังคีตศิลป์]] [[ธนาคารกรุงเทพ]] เชิง[[สะพานผ่านฟ้า]]โดยร่วมงานกับ กวีรัตนโกสินทร์ " คุณเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ " ตั้งแต่ พ.ศ. 2527 จนถึงปัจจุบัน
 
เอนก นาวิกมูล มีผลงานเขียนหนังสือหลายสิบเล่ม (104 เล่ม - ม.ค. 2549) ซึ่งเป็นการค้นคว้า และวิเคราะห์เรื่องราวและภาพถ่ายเก่า จาก[[หอจดหมายเหตุแห่งชาติ]] และแหล่งอื่น ได้รับรางวัลผู้สนับสนุนการอนุรักษ์มรดกไทยดีเด่น เนื่องใน[[วันอนุรักษ์มรดกไทย]] เมื่อปี พ.ศ. 2534 และได้รับการยกย่องเป็นนิสิตเก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดีเด่น เมื่อปี พ.ศ. 2536
 
== ประวัติ ==
เอนก เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง '''[[บ้านพิพิธภัณฑ์]]''' เมื่อ พ.ศ. 2530 เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงของใช้เก่าๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทยในอดีต จำลองบรรยากาศร้านค้าประเภทต่างๆ เช่น ร้านกาแฟ ร้านตัดผม ร้านขายยา ร้านถ่ายรูป ร้านขายหนังสือ นำมาจัดแสดง บ้านพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 170/17 หมู่ที่ 17 หมู่บ้านคลองโพแลนด์ ซอยคลองโพ 2 ถนนศาลาธรรมสพน์ (ถนนต่อจากถนนพุทธมณฑลสาย 2 ด้านทางรถไฟ) [[เขตทวีวัฒนา]] [[กรุงเทพ]] 10170 เริ่มเปิดให้เข้าชมตั้งแต่ พ.ศ. 2544 โดยนิสัยส่วนตัวของเอนก เป็นคนรักความสงบ อ่อนน้อม แต่จริงจังและมีความสุขกับการทำงาน เขาชอบที่จะใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายและสมถะ จึงเป็นที่รักใคร่ของเพื่อนๆและผู้ที่ได้รู้จัก
 
เอนก เกิดที่[[อำเภอระโนด]] [[จังหวัดสงขลา]] ครอบครัวทำกิจการร้านขายหนังสือแบบเรียน บิดาเป็นนักประดิษฐ์ นักสะสมหนังสือ ปฏิทิน [[ส.ค.ส.]] ภาพถ่าย ส่วนตัวจึงชอบถ่ายภาพ ชอบศึกษาค้นคว้า เขียนหนังสือ และเป็นนักสะสมมาตั้งแต่เด็ก เอนกจบชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนบ้านระโนด(ธัญเจริญ) อ.ระโนด จ.สงขลา จบมัธยมศึกษาตอนต้นจาก[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา]] มัธยมศึกษาตอนปลาย สาย ศิลป์-คณิต จากโรงเรียนวรนารีเฉลิม สงขลาปี ๒๕๑๕ และมาเรียนต่อที่[[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]จบรัฐศาสตร์(รุ่น ๒๕) เกียรตินิยม
 
 
== การศึกษา ==
 
* จบชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนบ้านระโนด(ธัญเจริญ) อ.ระโนด จ.สงขลา
* จบมัธยมศึกษาตอนต้นจาก[[โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา]]
* มัธยมศึกษาตอนปลาย สาย ศิลป์-คณิต จากโรงเรียนวรนารีเฉลิม สงขลาปี 2515
* และมาเรียนต่อที่[[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]จบรัฐศาสตร์ (รุ่น ๒๕) เกียรตินิยม
 
 
== แรกเริ่ม ==
เอนก เป็นคนที่รักการสะสมแสตมป์ รูปภาพ ถ่ายรูป การเขียนหนังสือและการวาดภาพ วาดการ์ตูนมาตั้งแต่เด็ก ๆ เพื่อน ๆ ในสมัยเรียนต่างชอบอ่านหนังสือการ์ตูน นิทาน ที่เอนกทำขึ้น สมัยที่เรียน ม.มัธยมปลาย เอนก ได้รับมอบหมายให้เป็นสารานียกร หนังสือรุ่น ซึ่งถือเป็นงานหนังสือที่เอนกได้รับผิดชอบและทำได้ดีมากรุ่นหนึ่ง ของโรงเรียนวรนารีเฉลิม
เขาเรียนจบปริญญาตรีที่คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เกียรตินิยม จากนั้นทำงานหนังสือพิมพ์ เป็นนักเขียนสารคดีเรื่องทางศิลปะวัฒนธรรม เพลงพื้นบ้าน ภายหลังได้ทำงานที่ศูนย์สังคีตศิลป์ ธนาคารกรุงเทพ เชิงสะพานผ่านฟ้าฯ และริเริ่มก่อตั้ง "บ้านพิพิธภัณฑ์" เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงของใช้เก่าในชีวิตประจำวันของชาวเมืองชาวตลาด ซึ่งหน่วยงานรัฐและคนทั่วไปยังไม่สนใจเก็บรักษา โดยสร้างคำขวัญว่า "เก็บวันนี้ พรุ่งนี้ก็เก่า"
 
จนกระทั่งเข้ากรุงเทพฯ ในปี 2515 เข้าเรียนมหาวิทยาลัยก็อยากออกไปสำรวจโลกภายนอก เมื่อไปรู้ไปเห็นเรื่องเก่ามามากเข้า ก็เพลาการเขียนเรื่องสั้นลงไป แล้วหันมามุ่งกับการเขียนสารคดีมากขึ้น เพราะเห็นว่าเมืองไทยขาดแคลนข้อมูลมาก ข้อมูลที่มีอยู่ก็ไม่มีที่มาที่ไป แถมบางทียังขัดกันจนไม่รู้ว่าจะเชื่ออันไหนดี บางเรื่องเป็นเรื่องนอกสายตาที่คนลืมไปแล้ว ก็เขียนลงในนิตยสารหลายเล่ม เริ่มต้นจากวิทยาสาร ปี 2518 โดยในปีนี้เองมีหนังสือสารคดีเป็นของตัวเองเป็นเล่มแรกชื่อ "เพลงยังไม่สิ้นเสียง" เป็นหนังสือที่อาจารย์ให้ทำขึ้นเพื่องานงานหนึ่ง ต่อมาก็เป็นนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ในปี 2522 และมาเขียนให้กับนิตยสารสารคดี ในคอลัมน์ "มุมสะสม" ตั้งแต่ฉบับแรกปี 2528
 
อะไรเป็นแรงบันดาลใจให้นักรัฐศาสตร์กลายมาเป็นนักเก็บสะสม เอนกเล่าว่า ความที่พ่อเป็นนักเก็บสะสม บวกกับที่เขาเป็นคนชอบอ่านชอบดูมาตั้งแต่เด็ก อยู่ชั้น ป.3 ป.4 ก็นั่งเขียนกลอน ตอน ป.6 ส่งบทกลอนไปที่นิตยสารชัยพฤกษ์ ก็ได้รับการตีพิมพ์เป็นครั้งแรก และเริ่มเขียนเรื่องสั้นตอน ป.7 ทำให้อยากเป็นนักเขียนมากขึ้น แล้วเมื่อขึ้น มศ.1 ก็ประสบความสำเร็จ เมื่อเรื่องสั้น "ปีแห่งกรรม" เป็นเรื่องเกี่ยวกับชาวนาไทย ได้รับรางวัลที่ 1 จากการประกวดเรื่องสั้นทั้งประเทศของนิตยสารชัยพฤกษ์ โดยได้รับอิทธิพลการเขียนและความคิดจากงานประพันธ์ของ น. ณ ปากน้ำ ที่กล่าวถึงการทำลายสถาปัตยกรรม วัดวาอาราม และในช่วงนี้เองครูประจำชั้นก็สอนถ่ายภาพให้
 
หลังจบการศึกษาจากจุฬาฯ เอนกทำงานหนังสือพิมพ์ เป็นนักเขียนสารคดีเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม เพลงพื้นบ้าน ต่อมาจึงไปทำงานที่[[เมืองโบราณ]] [[สมุทรปราการ]] เมื่อ พ.ศ.ปีพุทธศักราช 2520 และลาออกไปทำงานที่[[ศูนย์สังคีตศิลป์]] [[ธนาคารกรุงเทพ]] เชิง[[สะพานผ่านฟ้า]]โดยร่วมงานกับ กวีรัตนโกสินทร์ " คุณ[[เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์]] " ศิลปินแห่งชาติ ตั้งแต่ พ.ศ.ปีพุทธศักราช 2527 จนถึงปัจจุบัน ในยุคนั้นได้มีเพื่อนร่วมงานที่มีชื่อเสียงตาม ๆ กันมาอาทิ คุณ[[เจนภพ จบกระบวนวรรณ]] คุณ[[โดม สุขวงศ์]] เป็นต้น
 
เอนก นาวิกมูล มีผลงานเขียนหนังสือหลายสิบเล่ม (104 เล่ม - ม.ค. 2549) ซึ่งเป็นการค้นคว้า และวิเคราะห์เรื่องราวและภาพถ่ายเก่า จาก[[หอจดหมายเหตุแห่งชาติ]] และแหล่งอื่น ได้รับรางวัลผู้สนับสนุนการอนุรักษ์มรดกไทยดีเด่น เนื่องใน[[วันอนุรักษ์มรดกไทย]] เมื่อปี พ.ศ.พุทธศักราช 2534 และได้รับการยกย่องเป็นนิสิตเก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดีเด่น เมื่อปี พ.ศ.พุทธศักราช 2536
 
เอนก เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้ง '''[[บ้านพิพิธภัณฑ์]]''' เมื่อในปีพุทธศักราช พ.ศ. 2530 เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงของใช้เก่าๆ ในชีวิตประจำวันของคนไทยในอดีต จำลองบรรยากาศร้านค้าประเภทต่างๆ เช่น ร้านกาแฟ ร้านตัดผม ร้านขายยา ร้านถ่ายรูป ร้านขายหนังสือ นำมาจัดแสดง บ้านพิพิธภัณฑ์ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ 170/17 หมู่ที่ 17 หมู่บ้านคลองโพแลนด์ ซอยคลองโพ 2 ถนนศาลาธรรมสพน์ (ถนนต่อจากถนนพุทธมณฑลสาย 2 ด้านทางรถไฟ) [[เขตทวีวัฒนา]] [[กรุงเทพ]] 10170 เริ่มเปิดให้เข้าชมตั้งแต่ พ.ศ.ปีพุทธศักราช 2544 โดยนิสัยส่วนตัวของเอนก เป็นคนรักความสงบ อ่อนน้อม แต่จริงจังและมีความสุขกับการทำงาน เขาชอบที่จะใช้ชีวิตอย่างเรียบง่ายและสมถะ จึงเป็นที่รักใคร่ของเพื่อนๆ และผู้ที่ได้รู้จัก และเขายังได้มีคติประจำตัวของเอนกนั้นคือ "ศรัทธาเป็นพลัง"
 
 
== เกียรติยศรางวัล ==
 
* ได้รับรางวัล ผู้สนับสนุนการอนุรักษ์มรดกไทยดีเด่น เนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ในปีพุทธศักราช 2534
* ได้รับการยกย่องเป็นนิสิตเก่ารัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยดีเด่น ในปีพุทธศักราช 2536
* ได้รับรางวัล ‘สารคดี’ เกียรติยศครั้งที่ 1 ณ.หอศิลป์กรุงเทพมหานคร วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤษภาึคม พุทธศักราช 2553
 
 
ขอขอบคุณ คุณ[[ธนภัทร บัวเบา]] ที่รวบรวมและผลงานของคุณเอนก นาวิกมูล ค่ะ
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==