ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู่เจี๋ย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Novaskosia (คุย | ส่วนร่วม)
Novaskosia (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 42:
=== ภายใต้การปกครองของสาธารณรัฐประชาชนจีน ===
[[ไฟล์:Pujie and hiro saga.JPG|thumb|left|200px|อ้ายซินเจว๋หลัว ผู่เจี๋ยและเจ้าหญิงฮิโระ ซางะเสด็จเยือน[[พระราชวังต้องห้าม]] ในบั้นปลายพระชนม์ชีพ ในฐานะสามัญชน]]
ในการกลับมาจีน ผู่เจี๋ยถูกคุมขังที่ศูนย์บริหารที่เกี่ยวกับอาชญากรฟูชุน นักโทษต้นแบบ เขากลายเป็นสัญลักษณ์ของการผ่อนผันการรับโทษโดยระบบการปกครองระบอบ[[คอมมิวนิสต์]] ได้เข้าร่วมกับ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]]และภายหลังได้ทำงานหน้าที่ที่ไปประจำอยู่ ในปีพ.ศ. 2504 ทรงพ้นโทษและทรงประทับร่วมกับเจ้าหญิงฮิโระ ซางะ พระมเหสีจนกระทั่ง พ.ศ. 2530 เจ้าหญิงฮิโระสิ้นพระชนม์
 
ในปี พ.ศ. 2521 ผู่เจี๋ยกลายเป็นที่2จากเซี่ยงไฮ้ในการประชุมทูตนานาชาติ ครั้งที่ 5 ภายหลังเขาทำงานในหน้าที่ไปประจำอยู่จาก มณฑลเหลี่ยวหนิง,สมาชิกคณะกรรมาธิการฝ่ายวางนโยบายหลักของพรรคคอมมิวนิสต์ และ ประธานคณะกรรมการการกระชุมทูตนานาชาติ ครั้งที่ 6 ในปี [[พ.ศ. 2526]] เขาเขาถูกแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหน้าที่ไปประจำอยู่ของกลุ่มมิตรภาพ จีน-ญี่ปุ่น จากปี [[พ.ศ. 2528]] เขาได้เลื่อนตำปหน่งเป็นผู้บิหารสูงสุดของการประชุมทูต ครั้งที่ 7 ในปี [[พ.ศ. 2531]] ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2529]] ผู่เจี๋ยก็เป็นผู้อำนวยการให้เงินทุนผู้ที่ไม่สมประกอบทางร่างกายกิตติมศักดิ์<ref>Mackerras, The Cambridge Handbook of Contemporary China. PP73 </ref>เจ้าหญิงฮิโระ ซางะ พระมเหสีสิ้นพระชนม์ในปีพ.ศ. 2530 จากนั้นอีก 7 ปี ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2537 พระองค์ก็สิ้นพระชนม์ด้วยพระชนมายุ 86 พรรษา
 
== วงศ์ตระกูล ==